กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี


“ โครงการหนูน้อยฟันสวย สุขภาพฟันดี ”

ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนงค์ฤดี พรหมคำ

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยฟันสวย สุขภาพฟันดี

ที่อยู่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2543-3-15 เลขที่ข้อตกลง 14

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยฟันสวย สุขภาพฟันดี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยฟันสวย สุขภาพฟันดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยฟันสวย สุขภาพฟันดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2543-3-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มีนาคม 2563 - 31 มีนาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ประเภทอาหารขนม เครื่องดื่มให้บริโภคที่หลากหลายซึ่งผู้ปกครองและเด็กเป็นจำนวนมากเลือกบริโภคสิ่งที่ไม่เกิดประโยชน์ต่อร่างกายและสุขภาพ เช่น ขนมกรุบกรอบ ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ฃนมหวานต่างๆ การที่เด็กรับประทานอาหารเหล่านี้ส่งผลให้เด็กมีปัญหาฟันผุและจากการสำรวจสภาวะในช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าหวาย มีทั้งหมด 28 คน ฟันผุ 13 คน คิดเป็นร้อยละ 46 มีปัญหาฟันน้ำนมผุ การที่จะปลูกฝังให้เด็กรักการแปรงฟันและสร้างความตระหนักให้กับผู้ปกครองให้เห็นถึงความสำคัญกับการดูแลเอาใจใส่ สุขภาพช่องปากและฟันของเด็กจึงมีความสำเร็จเป็นอย่างยิ่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าหวายจึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยฟันสวย สุขภาพฟันดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันที่ถูกวิธี (คน)
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความสนใจและให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพฟัน(คน)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ติดตามประเมินผล
  2. อบรมความรู้ความเข้าใจ เรื่อง 1.ฟันน้ำนมดีไฉน 2.การดูแลฟันและการป้องกันโรคในช่องปาก 3.ทำยังไงไม่ให้ฟันผุและฝึกปฏิบัติการแปรงฟันให้ถูกวิธีบรมความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การรักษาและการดูแลฟัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 28
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันอย่างถูกวิธี ผู้ปกครองมีความสนใจและให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพฟัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมความรู้ความเข้าใจ เรื่อง 1.ฟันน้ำนมดีไฉน 2.การดูแลฟันและการป้องกันโรคในช่องปาก 3.ทำยังไงไม่ให้ฟันผุและฝึกปฏิบัติการแปรงฟันให้ถูกวิธีบรมความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การรักษาและการดูแลฟัน

วันที่ 17 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ลงทะเบียน 2.ให้ความรู้เรื่องการดูแลฟันและการป้องกันโรคในช่องปาก 3.สาธิตวิธีการแปรงฟันด้วยโมเดลฟัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลการดำเนินงาน
  • สรุปผลประเมินหลังจากการฝึกอบรม   ตามที่ผู้ปกครองได้รับการอบรมเรื่องโครงการหนูน้อยฟันสวยสุขภาพฟันดีนั้น ผู้ปกครองได้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันที่ถูกวิธีตั้งแต่ลูกเริ่มมีฟันน้ำนมขึ้น พ่อแม่ผู้ปกครองหรือคนทีมีความใกล้ชิดต้องค่อยดูแลเอาใจใส่และให้ความสำคัญโดยการปลูกฝังสร้างเสริมลักษณะนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพในช่องปากของลูกอย่าคิดว่าฟันน้ำไม่สำคัญเพราะมีผู้ปกครองบางคนคิดว่าฟันน้ำนมของเด็กไม่มีความสำคัญ ผู้ปกครองก็เลยไม่ค่อยสนใจในการดูแลรักษาฟันน้ำนมอย่างจริงจัง แต่พอผู้ปกครองได้รับความรู้แท้จริงแล้วฟันน้ำนมมีความสำคัญอย่างยิ่งในวัยของลูกและเป็นจุดเริ่มต้นของการมีสุขภาพช่องปากที่ดีและมีความสำคัญต่อฟันแท้ที่จะงอกขึ้นเมื่อเด็กอายุครบ 6 ปี และจะทยอยหลุดไปครั้งล่ะ 1-2 ซี่ จนซี่สุดท้ายเมื่อลูกมีอายุถึง 12 ปี ก็จะมีฟันแท้ขึ้นมาแทนที่และสิ่งที่สำคัญที่สุดผู้ปกครองยังมีความรู้ความเข้าใจและปลูกฝังให้ลูกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อฟัน ห้ามรับประทานอาหารกรุบกรอบ ขนมหวานๆ และคอยปลูกฝังให้ลูกรักการแปรงฟันคอยให้คำแนะนำคอยดูแลให้แรงเสริมเมื่อลูกแปรงฟันสะอาดและควรนำลูกไปพบทันตแพทย์อย่างสม่ำเสมอ การรักษาความสะอาดในช่องปากจะทำให้ปากของเด็กมีความสะอาด เด็กก็จะร่าเริงแจ่มใสจะมีรอยยิ้มที่สวยงามสดใสตลอดไป
      ดังนั้นผู้ปกครองจึงให้ความสำคัญในการดูแลรักษาสุขภาพในช่องปากของลูกมากขึ้นกว่าเดิมและจะนำความรู้ที่ได้รับทั้งหมดได้ไปแนะนำเผยแพร่ให้กับผู้ปกครองที่ไม่มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟันของเด็กต่อไป

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันที่ถูกวิธี (คน)
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันที่ถูกวิธี
28.00 28.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความสนใจและให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพฟัน(คน)
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความสนใจและให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพฟัน
28.00 5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 28
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 28
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันที่ถูกวิธี (คน) (2) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความสนใจและให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพฟัน(คน)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตามประเมินผล (2) อบรมความรู้ความเข้าใจ เรื่อง 1.ฟันน้ำนมดีไฉน 2.การดูแลฟันและการป้องกันโรคในช่องปาก 3.ทำยังไงไม่ให้ฟันผุและฝึกปฏิบัติการแปรงฟันให้ถูกวิธีบรมความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การรักษาและการดูแลฟัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยฟันสวย สุขภาพฟันดี จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2543-3-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนงค์ฤดี พรหมคำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด