กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยะลา ”
ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสิริรัตน์ ศรีโล




ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4138-04-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4138-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคโดยประชาชนและชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วม ถือเป็นแนวทางหลักที่มีความสำคัญในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขซึ่งได้มีการดำเนินการและพัฒนาการมาอย่างยาวนานกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพโดยชุมชนเพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงเน้นการทำกิจกรรม โดยความคิดริเริ่มของประชาชนและชุมชนเอง กองทุนหลักประกันสุขภาพจึงเกิดขึ้นด้วยความร่วมมือของเครือข่ายองค์กรชุมชนกลุ่มและประชาชนเป้าหมาย การบริหารจัดการกองทุน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่แข็งแรง มีความสำคัญต่อการดำเนินงานของกองทุนฯ เริ่มตั้งแต่การวางแผนการดำเนินงานซึ่งเป็นตัวชี้ว่ากองทุนฯ จะเดินไปในทางทิศใดดังนั้นถ้าการวางแผนการดำเนินงานให้มีกิจกรรม / โครงการต่าง ๆ ที่ดี จะทำให้การดำเนินงานของกองทุนฯ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
    กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะลา อำเภอเมือง จังหวัดยะลาเป็นกองทุนขนาดกลางโดยได้ลงนามร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และได้ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลยะลา เพื่อเข้ามาดำเนินงานและบริหารจัดการเงินทุนระดับท้องถิ่น พร้อมทั้งจัดทำระเบียบข้อบังคับของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นตำบลยะลา เพื่อถือปฏิบัติ ในการนี้ เพื่อให้การดำเนินการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อย สำนักงานปลัดได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ จึงขออนุมัติจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนตำบลยะลา ประจำปีประมาณ พ.ศ.2564

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่ออนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
  2. เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มองค์กรประชาชนขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบลมากขึ้น
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และแกนนำสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
  2. พัฒนาศักยภาพ
  3. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ
  4. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่1
  5. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2
  6. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1
  7. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2
  8. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3
  9. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 4

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30
คณะกรรมการ/อนุกรรมการ 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะลา มีความต่อเนื่อง สามารถใช้จ่ายงบประมาณเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของกองทุน
๒. คณะกรรมการรกองทุนมีศักยภาพและมีความพร้อมในการบริหารกองทุนฯ
๓. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่1

วันที่ 22 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เรื่อง เพื่อทราบ 1 รายงานสถานะการเงินของกองทุน ฯ 2 รายงานผลการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ 2563 เรื่อง เพื่อพิจารณา 1 ขอความเห็นชอบรายงานการรับ – จ่ายเงินคงเหลือประจำเดือนกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ประจำปีงบประมาณ 2563 2 ขออนุมัติแผนงานและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะลา ประจำปีงบประมาณ 2564 3 ขออนุมัติคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 มีการรายงานสถานะการเงินของกองทุน ฯ 2 มีการรายงานผลการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ 2563 3 มีการพิจารณาความเห็นชอบรายงานการรับ – จ่ายเงินคงเหลือประจำเดือนกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ประจำปีงบประมาณ 2563 4 มีการพิจารณาอนุมัติแผนงานและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะลา ประจำปีงบประมาณ 2564 จำนวน  23 โครงการ
3 มีการพิจารณาอนุมัติคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

 

21 0

2. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1

วันที่ 2 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ขออนุมัติโครงการ แผนการดูแลรายบุคคล และค่าใช้จ่ายตามแผนการดูแลรายบุคคลสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการอนุมัติโครงการ แผนการดูแลรายบุคคล และค่าใช้จ่ายตามแผนการดูแลรายบุคคลสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care plan) ประจำปีงบประมาณ 2564 ) จำนวน 6 ราย เป็นจำนวนเงิน 36,000 บาท (สามหมื่นหกพันบาทถ้วน)

 

10 0

3. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2

วันที่ 22 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. รายงานสถานะการเงินของกองทุน ฯ 2.รายงานผลการดำเนินงานโครงการรณรงค์ และป้องกันโรคติดต่อ (โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19) ตามข้อ 10 (5) 3.ขอความเห็นชอบรายงานการรับ – จ่ายเงินคงเหลือประจำเดือนกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ประจำไตรมาส 1 และ 2 ปีงบประมาณ 2564

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.คกก.กองทุนมีการรับทราบรายงานสถานะการเงินของกองทุน ฯ 2.คกก.กองทุนรับทราบรายงานผลการดำเนินงานโครงการรณรงค์ และป้องกันโรคติดต่อ (โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19) ตามข้อ 10 (5)
3.มีการเห็นชอบรายงานการรับ – จ่ายเงินคงเหลือประจำเดือนกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ประจำไตรมาส 1 และ 2 ปีงบประมาณ 2564

 

21 0

4. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2

วันที่ 31 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ขออนุมัติโครงการ แผนการดูแลรายบุคคล และค่าใช้จ่ายตามแผนการดูแลรายบุคคลสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง ครั้งที่ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการพิจารณาอนุมัติโครงการ แผนการดูแลรายบุคคล และค่าใช้จ่ายตามแผนการดูแลรายบุคคลสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care plan) ครั้งที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2564 จำนวน 11 ราย  เป็นจำนวนเงิน 66,000 บาท (หกหมื่นหกพันบาทถ้วน)

 

10 0

5. พัฒนาศักยภาพ

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

เข้ารับการอบรมเกี่ยวกับกองทุนสปสช.ผ่านออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้และรับทราบระเบียบและข้อเสนอจากวิทยากรบรรยาย

 

30 0

6. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

ไม่ได้ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

21 0

7. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 4

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

ไม่ได้ดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

21 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่ออนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 มีการอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
80.00 100.00

 

2 เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มองค์กรประชาชนขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบลมากขึ้น
ตัวชี้วัด : กลุ่มองค์กรประชาชนขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบลมากขึ้น
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และแกนนำสุขภาพ
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และแกนนำสุขภาพได้รับการอบรมและเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30
คณะกรรมการ/อนุกรรมการ 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ (2) เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มองค์กรประชาชนขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบลมากขึ้น (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และแกนนำสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ (2) พัฒนาศักยภาพ (3) ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ (4) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่1 (5) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2 (6) ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1 (7) ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2 (8) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3 (9) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 4

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4138-04-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสิริรัตน์ ศรีโล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด