กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระวะ


“ โครงการเด็กระวะฟันดี ห่างไกลฟันผุ ประจำปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวลดาวัลย์ คำแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการเด็กระวะฟันดี ห่างไกลฟันผุ ประจำปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5227-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มีนาคม 2563 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กระวะฟันดี ห่างไกลฟันผุ ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กระวะฟันดี ห่างไกลฟันผุ ประจำปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กระวะฟันดี ห่างไกลฟันผุ ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5227-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มีนาคม 2563 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระวะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ข้อมูลการสำรวจค่าฟันผุ ถอน อุด (dmft) ในเด็ก 6 ปี อยู่ที่ระดับ 0.89 ซี่/คน ในปี 2559 0.68 ซี่/คน ในปี 2560 และ 0.49 ซี่/คน ในปี่ 2561 และค่าฟันผุ ถอน อุด (DMFT) ในเด็ก 12 ปี อยู่ที่ระดับ 0.89 ซี่/คน ในปี 2560 และ 0.49 ซี่/คน ในปี 2561 และค่าฟันผุ ถอน อุด (DMFT) ในเด็ก 12 ปี อยู่ที่ระดับ 0.72 ซี่/คน ในปี 2559 0.60 ซี่/คน ในปี 2560 และ 0.44 ซี่/คน ในปี 2561 จากการสำรวจค่าฟันผุ ถอด อุด (dmft) ในพื้นที่ตำบลระวะ ในปี 2561 พบว่า กลุ่มอายุ 6 ปี มีค่าฟันผุ ถอด อุด (dmft) เท่ากับ 0.39 ซี่/คน และอายุ 12 ปี มีค่าฟันผุ ถอน อุด (DMFT) เท่ากับ 0.41 ซี่/คน ปัจจัยที่ทำให้เด็กกลุ่มนี้มีภาวะการเกิดโรคฟันผุค่อนข้างคงที่ มีการเข้าถึงบริการทันตกรรมป้องกันที่เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน คือมีการให้บริการทันตกรรมที่จำเป็น เคลือบหลุดร่องฟันแท้และการอุดฟัน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการป้องกันฟันผุ ฟันที่ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันแล้ว ยังจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับการดูแลทำความสะอาดและได้รับฟลูออไรด์อย่างสม่ำเสมอมาตรหารที่เหมาะสม คือ การแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ทุกวัน ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างสุขนิสัยในการดูแลรักษาสุขอนามัยส่วนตัวให้แก้เด็ก เป็นการเตรียมความพร้อมให้เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองในอนาคตและเพื่อให้มีการดำเนินการส่งเสริมทันตสุขภาพช่องปากในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง     โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดำเนินงานเพื่อพัฒนาระบบบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพที่มีคุฯภาพและครอบคลุม ร่วมกับการพัฒนาศักยภาพของเด็กในการดูแลรักษาอนามัยช่องปากของตนเอและส่งเสริมกิจกรรมทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษาอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม จึงจัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในเด็กนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 1-6 โดยมีการอบรมให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี มีการตวจสุขภาพช่องปากนักเรียน และให้บริการทันตสุขศึกษา การเคลือบหลุมร่องฟัน และการให้บริการอุดฟันแก่นักเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อนักเรียนมีความรู้ ทัสนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี
  2. 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการรักษาทางทันตกรรมที่จำเป็น (อุดฟัน, เคลือบหลุมร่องฟันแท้)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 241
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติที่ดีต่อสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี ส่งผลให้เกิดโรคในช่องปากลดน้อยลง
    2. นักเรียนได้รับการรักษาทางทันตกรรมที่จำเป็น (อุดฟัน, เคลือบหลุมร่องฟันแท้)

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อนักเรียนมีความรู้ ทัสนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : - นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพช่องปากร้อยละ 100
    0.00

     

    2 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการรักษาทางทันตกรรมที่จำเป็น (อุดฟัน, เคลือบหลุมร่องฟันแท้)
    ตัวชี้วัด : - นักให้นักเรียนที่มีฟันกรามแท้ซี่ที่ 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันแท้ ร้อยละ 100 - นักเรียนที่มีปัญหาสุภาพช่องปาก ที่ต้องอุดฟันได้รับการอุดฟัน ร้อยละ 100
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 241
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 241
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อนักเรียนมีความรู้ ทัสนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี (2) 2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการรักษาทางทันตกรรมที่จำเป็น (อุดฟัน, เคลือบหลุมร่องฟันแท้)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเด็กระวะฟันดี ห่างไกลฟันผุ ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 64-L5227-01-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวลดาวัลย์ คำแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด