กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ คนไทยไร้พุง ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี

ชื่อโครงการ โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ คนไทยไร้พุง

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3339-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ คนไทยไร้พุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ คนไทยไร้พุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ คนไทยไร้พุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3339-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กุมภาพันธ์ 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโรคอ้วนลงพุง เป็นปัจจัยหนึ่งที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของร่างกายร่วมกับปัจจัยอื่นๆ ก่อให้เกิดกลุ่มอาการเมตาบอลิก ได้แก่ การมีไขมันในเลือดผิดปกติ ความดันโลหิตสูง มีภาวะดื้อฮอร์โมนอินซูลิน นอกจากนี้ยังมีภาวะผิดปกติอื่นๆ ในกระแสโลหิตมีแนวโน้มให้เกิดการอักเสบในผนังหลอดเลือดและเกิดลิ่มเลือดแข็งตัวได้ง่าย จนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพอย่างเงียบง่ายๆ ก่อให้เกิดโรคร้ายหลายอย่าง ซึ่งเป็นสาเหตุการตายในระดับต้นๆ คือ โรคหลอดเลือดหัวใจ และสมองตีบ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และมะเร็งบางชนิด ซึ่งสาเหตุที่ก่อให้เกิดกลุ่มอาการเมตาบอลิก ได้แก่ พฤติกรรมบริโภคอาหารอย่างไม่ถูกต้อง รวมถึงการขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ภาวะความเครียด ดื่มสุรา สูบบุหี่ ภาวะฮอโมนผิดปกติ รวมถึงปัจจัยด้านอายุ อายุเพิ่มมากขึ้นยิ่งมีผลต่อความเสี่ยงอาการเมตาบอลิกมากขึ้น ดังนั้นการปรับเปลี่ยนพฟติกรรมการบริโภค การออกกำลังกายเพื่อควบคุมและลดน้ำหนักตัว ควบคุมอารมณ์ งดการดื่มสุราและการสูบบุหรี่ จึงเป็นแนวทางแรกของการต่อสู้ภาวะเมตาบอลิก ซึ่งสามารถกระทำได้ทุกคนและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นกลุ่ม ซึ่งสอดคล้องกับกระแสการมีส่วนของประชาชนในการดูแลสุขภาพโดยการพึ่งพาตนเอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี รับผิดชอบพื้นที่ในตำบลหารเทา จำนวน 3 หมู่บ้าน ประชากร 2,941 คน มีจำนวนกลุ่มเสี่ยง (อายุ 35 ขึ้นไป) จำนวน 1,106 คน และจากการดำเนินงานในโครงการตรวจคัดกรองค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2562 มีเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90.42 และ 92.36 พบภาวะ น้ำตาลในเลือดสูง 31 คน คิดเป็นร้อยละ 3.38 พบภาวะ ความดันโลหิตสูง 330 คน คิดเป็นร้อยละ 35.64 พบภาวะน้ำหนักเกินหรือระดับรอบเอวเกิน 122 คน คิดเป็นร้อยละ 13.09 พบผู้สูบบุหรี่ 127 คน คิดเป็นร้อยละ 13.63 พบผู้ดื่มสุรา 29 คน คิดเป็นร้อยละ 3.17 พบผู้มีฤติกรรมบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม 91 คน คิดเป็นร้อยละ 9.8 จากสถานการณ์ดังกล่าว จะเห็นได้ว่าสถานะสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่ ยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างเป็นปัญหา ดังนันจึงจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนหรือสร้างเสริมพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันและเเก้ไขปัญหาสุขภาพที่สามารถดำเนินการได้ด้วยกลยุทธการส่งเสริมสุขภาพ     เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีการดำเนินชิวิตที่ถูกต้องนำไปสู่ภาวะสุขภาพที่ดี ด้วยเหตุที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี ร่วมกับกลุ่มอาสามัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จึงได้คิดวิธีการเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนและสมาชิกกลุ่มมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเเละมีการปฎิบัติอยางต่อเนื่อง จึงได้จัดตั้ง คลินิค DPCA เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้ต้องการ ลดโรคอ้วนลงพุงและ ควบคุมการบริโภคอาหารและการออกกำลังการ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อผู้ที่มีปัญหาโรคอ้วนมีการเรียนรู้อย่างถูกต้องในเรื่องอาหาร การออกกำลังกายและการจัดการอารมณ์ที่เหมาะสม (หลัก ๓ อ.)
  2. เพื่อผู้ที่มีปัญหาโรคอ้วนควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามค่าดัชนีมวลกาย (BMI) รอบเอวที่เหมาะสม
  3. เพื่อให้ผู้ที่มีปัญหาโรคอ้วนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถควบคุมน้ำหนัก/รอบได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชุมชี้แจงให้ความรู้การดูแลสุขภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความพึงพอใจต่อกระบวนการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค 2.ประชาชนมีการนำความรู้ไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ 3.ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อผู้ที่มีปัญหาโรคอ้วนมีการเรียนรู้อย่างถูกต้องในเรื่องอาหาร การออกกำลังกายและการจัดการอารมณ์ที่เหมาะสม (หลัก ๓ อ.)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อผู้ที่มีปัญหาโรคอ้วนควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามค่าดัชนีมวลกาย (BMI) รอบเอวที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ที่มีปัญหาโรคอ้วนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถควบคุมน้ำหนัก/รอบได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อผู้ที่มีปัญหาโรคอ้วนมีการเรียนรู้อย่างถูกต้องในเรื่องอาหาร การออกกำลังกายและการจัดการอารมณ์ที่เหมาะสม (หลัก ๓ อ.) (2) เพื่อผู้ที่มีปัญหาโรคอ้วนควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามค่าดัชนีมวลกาย (BMI) รอบเอวที่เหมาะสม (3) เพื่อให้ผู้ที่มีปัญหาโรคอ้วนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถควบคุมน้ำหนัก/รอบได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชุมชี้แจงให้ความรู้การดูแลสุขภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ คนไทยไร้พุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3339-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด