อิ่มท้องสมองใส โรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ อิ่มท้องสมองใส โรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายวินัยพงษ์ คำแหง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ อิ่มท้องสมองใส โรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์)
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7258-2-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 พฤศจิกายน 2562 ถึง 25 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"อิ่มท้องสมองใส โรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
อิ่มท้องสมองใส โรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์)
บทคัดย่อ
โครงการ " อิ่มท้องสมองใส โรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 พฤศจิกายน 2562 - 25 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 327,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
การพัฒนาคนให้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งทางด้นรำงกายและจิตใจให้มีความสามารถในการเรียนรู้และ
พัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพ เป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการพัฒนาชาติอยั่งยืน แต่ปัญหาสุขภาพของประชาชนเป็น
ปัญหาระดับชาติที่เกิดจากการละเลยต้นโชนากรของคนทั่โครมถึงคนท กลายเป็นปัญหาที่ฐบาลตั้องจัดสรร
งบประมาณให้กับการบริการทางด้านสาธารณสุขเพื่อดูแลสุขภาพของคนไหย แทนที่จะใช้ไปพื่อพัฒนประเทศด้านอื่นๆ โภชนาการจึงเป็นเรื่องที่ผู้เกี่ยวข้องต้องร่วมมือกัน โดยเพาะอย่างยิ่งปัญหาของโรงเรียน คือ เต็กบางส่วนไม่ได้รับประทานอาหารเช้า ซึ่งเป็นมื้อที่สำคัญในการพัฒนสมอง ส่งผลให้นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการคือ น้ำหนัก ส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กรมอนามัยกำหนด อีกทั้งยังทำหนักเรียนที่ไมต้รับประทานอหารเช้าบ่อยครั้งเป็นโรคกระเพาะอาหารได้ และยังขาความพร้อมในการเรียน และในการทำกิจกรรม ซึ่งเป็นปัญหาที่กระทบกับโรงเรียนในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ ส่วนอีกปัญหหนึ่งของเต็กคือภาวะผุพโภชนาการ (ด็กอ้วน เด็กผอม) ปัญหาตังกล่าวหากพ่อแม่สร้างสิ่งแวดล้อมต่างๆ ให้หมาะสมสมองของเขาก็จะเติบโตและพัฒนาได้อย่างเต็มที่ ความสมบูรณ์ของสมองไนช่วงนี้ คือราฐานสำคัญของชีวิตและควมป็นนุษที่สมนูรณ์ ปะกอบกับช่วงวัยเรียนเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโต มีความต้องการอหารครบทั้ง๕ หมู่ ทำให้เด็กมีสติปัญญเฉลียวฉลาด ถ้าเด็กได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ก็จะทำให้ร่างกายแข็งแรงสบูรณ์ไม่มีอุปสดต่อการเรียนรู้และการเจริญเติบโตของร่งกายเมื่อท้องอิ่มีจิตใจก็แจ่มใส เบ่งบาน พร้อมปิดรับกับการเรียนรู้สิ่งใหม่
การดำเนินการแก้ไขปัญหาเด็กไม่ได้รับประทานอาหารเช้า และภาวะทุพโภชนาการถือเป็นหน้าที่ของโรงเรียน
ที่จะต้องตำนินการแก้ไขปัญหาซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติกศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 1 บททั่วไปความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา ๖ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจสติปัญญา ความรู้ และ คุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้ด้อย่างมีความสุข และสอดคล้องกับพระราชกิจจานุเบกษา ประกาศณะอนุกรรมการและป้องกันโรคภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 กิจกรรมบริการสาธารณสุขตามกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ตามประกาศแนบท้ายลงวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๗ ข้อ ๓. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน และ ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนคหาดใหญ่ เรื่อง การดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2559 ข้อ ๗ (๑)
ผลการดำเนินโครงการฯ ประจำปิงบประมาณ พ.ศ.2562 โรงเรียนเทศบาล (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) มีนักเรียนทั้งสิ้น ๑,๐๘๙ คน พบว่า นักเรียนที่โรงเรียนตรวจพบภาวะทุโภชนากรทั้งหมดจำนวน 123คน มีนักเรียน
จำนวน 1๑๑คน มีน้ำหนักและส่วนสูงตามกณฑ์คิดป็นร้อยละ ๙0.24 และนักเรียนที่มีภาวะพุฟโภชนาการ ได้
รับประทานอหารเช้าที่มีคุณภาพ ร้อยละ ๑๐๐ ผูปครองของนักเรียนที่มีปัญหาภาวะผุพโภชนาการจำนวน ๓๒๓ คน มีความพึงพอใจและเห็ความสำคัญของการรับประหนอหาเช้าร้อยละ 96.75 ซึ่งนับเป็นโครงการฯ ที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการรัประทานอหารเช้าและกวะทุพโภชนาการที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
โรงเรียนจึงดำเนินโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง โดยมีการสำรวจกเรียนที่มีภาวะผุพโภชนาการเพิ่มเติม พบว่าใน
ปิงปประมาณ พ.ศ. 2563 มีนักเรียนทั้งสิ้น 1,023 โรงรียนตรวจพนภวะผุฟโภชนากรจำนวน 120 คน โดยมีความมุ่งหวังเพื่อช่วยให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้ามีคุณค่ทางโภชนาการและครบ ๕ หมู่ มีพัฒนาการสมวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามภณฑ์มาตรฐาน มีสมาธิ เกิดความพร้อมในการเรียนรู้ สู่การเป็นเด็กที่มีติปัญญาฉลาดลสมวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ ๑ เพื่อแก้ไขและป้องกันภาวะทุพโภชนาการส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง มีพัฒนาการสมวัย
- ข้อที่ ๒ เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ
- ข้อที่ ๓ เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมองเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้าเป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ
๑) นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนเทศบาล ๓(โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) เทศบาลนครหาดใหญ่จำนวน๑๒๐ คน
๒) จัดนักเรียนประชุมผู้ปกครองของนักเรียนในโครงการ
จำนวน ๑๒๐ คน
เป้าหมายเชิงคุณภาพนักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหาร และเห็นความสำคัญของการรับประทาน
อาหารเช้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ให้ความรู้แก่ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง อาหารมื้อเช้าสำคัญ สมองใส
- สรุปผลการดำเนินงาน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนโรงเรียนเทศบาล3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหารมีพัฒนาการสมวัย มีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
วันที่ 20 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 120 คน ได้รับประทานอาหารเช้า
โดยครูเวรสวัสดิการของโครงการได้จัดเตรียมบริการ ณ โรงอาหาร โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยา
คุณานุสรณ์) รายการอาหารดังนี้
20 มกราคม 2563 ซาลาเปา ขนมจีบ โอวัลติน
21 มกราคม 2563 ข้าว แกงจืดหมูสาหร่าย โอวัลติน
22 มกราคม 2563 ข้าวมันไก่ โอวัลติน
23 มกราคม 2563 ข้าวต้มหมู ไข่ลวก โอวัลติน
24 มกราคม 2563 ข้าวเหนียวหมู โอวัลติน
27 มกราคม 2563 ข้าวไก่เทอริยากิ โอวัลติน
28 มกราคม 2563 ข้าวผัดหมูใส่ไข่
29 มกราคม 2563 ราดหน้าไก่+ลูกชิ้น โอวัลติน
30 มกราคม 2563 ก๋วยเตี๋ยวน้ำใส ลูกชิ้น หมูสับ
31 มกราคม 2563 คอนเฟรก นมสด ขนมปัง+แยม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ และปลอดภัย
0
0
2. การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2563กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 120 คน ได้รับประทานอาหารเช้า
โดยครูเวรสวัสดิการของโครงการได้จัดเตรียมบริการ ณ โรงอาหาร โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยา
คุณานุสรณ์) รายการอาหารดังนี้
3 กุมภาพันธ์ 2563 ข้าวกะเพราไก่
4 กุมภาพันธ์ 2563 แซนวิช น้ำเต้าหู้
5 กุมภาพันธ์ 2563 ผัดซีิอิ๊วหมูใส่ไข่
6 กุมภาพันธ์ 2563 ซาลาเปา+ขนมจีบ
7 กุมภาพันธ์ 2563 ข้าวต้มหมู+ใส่ไข่
11 กุมภาพันธ์ 2563 ไข่ทรงเครื่อง โอวัลติน
12 กุมภาพันธ์ 2563 ข้าวไก่ต้มขมิ้น
13 กุมภาพันธ์ 2563 คอนเฟรก นมสด ขนมปัง+แยม
14 กุมภาพันธ์ 2563 ข้าว ผัดกะหล่ำปลีหมูใส่ไข่
17 กุมภาพันธ์ 2563 ก๋วยจั๊บไก่
18 กุมภาพันธ์ 2563 แซนวิช น้ำเต้าหู้
19 กุมภาพันธ์ 2563 ข้าวผัดสามสี
20 กุมภาพันธ์ 2563 ซาลาเปา ขนมจีบ
21 กุมภาพันธ์ 2563 ข้าวมันไก่
24 กุมภาพันธ์ 2563 ข้าว แกงจืดสาหร่าย
25 กุมภาพันธ์ 2563 ไข่ทรงเครื่อง โอวัลติน
26 กุมภาพันธ์ 2563 ก๋วยเตี๋ยวราดหน้า
27 กุมภาพันธ์ 2563 คอนเฟรก นมสด ขนมปัง แยม
28 กุมภาพันธ์ 2563 ข้าว กะเพราไก่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพและปลอดภัย
0
0
3. การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
วันที่ 2 มีนาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 120 คน ได้รับประทานอาหารเช้า
โดยครูเวรสวัสดิการของโครงการได้จัดเตรียมบริการ ณ โรงอาหาร โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยา
คุณานุสรณ์) รายการอาหารดังนี้
2 มีนาคม 2563 ข้าว ผัดกะหล่ำปลีหมูใส่ไข่
3 มีนาคม 2663 แซนวิช น้ำเต้่าหู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพและปลอดภัย
0
0
4. การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
วันที่ 1 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 120 คน ได้รับประทานอาหารเช้า
โดยครูเวรสวัสดิการของโครงการได้จัดเตรียมบริการ ณ โรงอาหาร โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยา
คุณานุสรณ์) รายการอาหารดังนี้
1 กรกฎาคม 2563 ข้าว ผัดกะหล่ำปลีหมูใส่ไข่
2 กรกฎาคม 2563 ซาลาเปา ขนมจีบ
3 กรกฎาคม 2563 ข้าวต้มหมูใส่ไข่
8 กรกฎาคม 2563 ข้าวมันไก่
9 กรกฎาคม 2563 คอนเฟรก นมสด ขนมปัง+เนย
10 กรกฎาคม 2563 ข้าวผัดหมู
13 กรกฎาคม 2563 ข้าว ไก่ต้มขมิ้น
14 กรกฎาคม 2563 ข้าว ไข่ทรงเครื่อง
15 กรกฎาคม 2563 ก๋วยเตี๋ยวราดหน้า
16 กรกฎาคม 2563 แซนวิช น้ำเต้าหู้
17 กรกฎาคม 2563 ข้าว กะเพราไก่
20 กรกฎาคม 2563 ผัดซีอิ๊วหมู ใส่ไข่
23 กรกฎาคม 2563 ซาลาเปา+ขนมจีบ
24 กรกฎาคม 2563 ข้าวหมูแดง
27 กรกฎาคม 2563 ข้าว ไข่ทรงเครื่อง
29 กรกฎาคม 2563 ก๋วยเตี๋ยวน้ำ ลูกชิ้น หมูสับ
30 กรกฎาคม 2563 แซนวิช น้ำเต้าหู้
31 กรกฎาคม 2563 ข้าวผัดหมู
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพและปลอดภัย
0
0
5. การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
วันที่ 3 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 120 คน ได้รับประทานอาหารเช้า
โดยครูเวรสวัสดิการของโครงการได้จัดเตรียมบริการ ณ โรงอาหาร โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยา
คุณานุสรณ์) รายการอาหารดังนี้
3 สิงหาคม 2563 ข้าวผัดหมู
4 สิงหาคม 2563 ข้าว กะเพราไก่
5 สิงหาคม 2563 ข้าวต้มหมูสับ ใส่ไข่
6 สิงหาคม 2563 ข้าว ไข่ทรงเครื่อง
7 สิงหาคม 2563 หมี่ผัดซีอิ๊ว ใส่ไข่
10 สิงหาคม 2563 ซาลาเปา ขนมจีบ
11 สิงหาคม 2563 ข้าวมันไก่
13 สิงหาคม 2563 ชุดอาหารเช้า (ไข่ดาว ไส้กรอก ขนมปัง)
14 สิงหาคม 2563 ข้าว ผัดกะหล่ำปลีหมูใส่ไข่
17 สิงหาคม 2563 ข้าว แกงจืดสาหร่าย
18 สิงหาคม 2563 คอนเฟรก นมสด ขนมปัง+แยม
19 สิงหาคม 2563 ก๋วยเตี๋ยวราดหน้า
20 สิงหาคม 2563 ข้าว ไข่ทรงเครื่อง
21 สิงหาคม 2563 ข้าว ไก่ต้มขมิ้น
24 สิงหาคม 2563 ก๋วยจั๊บไก่
25 สิงหาคม 2563 ซาลาเปา ขนมจีบ
26 สิงหาคม 2563 ข้าวผัดหมู
27 สิงหาคม 2563 แซนวิช โอวัลติน
28 สิงหาคม 2563 ข้าวต้มหมูสับ ใส่ไข่
31 สิงหาคม 2563 ชุดอาหารเช้า (ไข่ดาว ไส้กรอก ขนมปัง)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพและปลอดภัย
0
0
6. การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
วันที่ 1 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 120 คน ได้รับประทานอาหารเช้า
โดยครูเวรสวัสดิการของโครงการได้จัดเตรียมบริการ ณ โรงอาหาร โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยา
คุณานุสรณ์) รายการอาหารดังนี้
1 กันยายน 2563 ข้าว กะเพราไก่
2 กันยายน 2563 ข้าว แกงจืดหมูสับ สาหร่าย
3 กันยายน 2563 คอนเฟรก นมสด ขนมปัง+แยม
8 กันยายน 2563 ข้าว ไก่เทอริยากิ
9 กันยายน 2563 ผัดซีอิ๋วหมู ใส่ไข่
10 กันยายน 2563 แซนวิช น้ำเต้าหู้
11 กันยายน 2563 ข้าว ผัดกะหล่ำปลีหมูใส่ไข่
14 กันยายน 2563 ข้าว ไข่เจียวทรงเครื่อง
15 กันยายน 2563 ก๋วยเตี๋ยวราดหน้าไก่
16 กันยายน 2563 ข้าว ไก่ต้มขมื้น
17 กันยายน 2563 ซาลาเปา ขนมจีบ
18 กันยายน 2563 ข้าวต้มหมู ใสไข่
21 กันยายน 2563 ข้าว ไก่เทอริยากิ
22 กันยายน 2563 ก๋วยจั๊บไก่
23 กันยายน 2563 ข้าวผัดหมู
24 กันยายน 2563ื คอนเฟรก นมสด ขนมปัง+เนย
25 กันยายน 2563 ข้าวมันไก่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพและปลอดภัย
0
0
7. ให้ความรู้แก่ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง อาหารมื้อเช้าสำคัญ สมองใส
วันที่ 18 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ
ผุ้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมอบรม เรื่อง อาหารมือเช้าสำคัญสมองใส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองได้รับความรู้และให้ความสำคัญเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการของนักเรียนต
120
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ ๑ เพื่อแก้ไขและป้องกันภาวะทุพโภชนาการส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง มีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : ๑.ตัวชี้วัด : นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการจำนวน ๑๐ คน มีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์ มาตรฐาน ร้อยละ90
0.00
2
ข้อที่ ๒ เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ๒ ตัวชี้วัด : นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ ร้อยละ ๑๐๐
0.00
3
ข้อที่ ๓ เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมองเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้าเป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ
๑) นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนเทศบาล ๓(โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) เทศบาลนครหาดใหญ่จำนวน๑๒๐ คน
๒) จัดนักเรียนประชุมผู้ปกครองของนักเรียนในโครงการ
จำนวน ๑๒๐ คน
เป้าหมายเชิงคุณภาพนักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหาร และเห็นความสำคัญของการรับประทาน
อาหารเช้า
ตัวชี้วัด : ๓. ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองของนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการจำนวน ๑๒๐ คน มีความพึงพอใจและเห็น
ความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า ร้อยละ ๙๐
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑ เพื่อแก้ไขและป้องกันภาวะทุพโภชนาการส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง มีพัฒนาการสมวัย (2) ข้อที่ ๒ เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ (3) ข้อที่ ๓ เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมองเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้าเป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ
๑) นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนเทศบาล ๓(โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) เทศบาลนครหาดใหญ่จำนวน๑๒๐ คน
๒) จัดนักเรียนประชุมผู้ปกครองของนักเรียนในโครงการ
จำนวน ๑๒๐ คน
เป้าหมายเชิงคุณภาพนักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหาร และเห็นความสำคัญของการรับประทาน
อาหารเช้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้แก่ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง อาหารมื้อเช้าสำคัญ สมองใส (2) สรุปผลการดำเนินงาน (3) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (4) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (5) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (6) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (7) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (8) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (9) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (10) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (11) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (12) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
อิ่มท้องสมองใส โรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7258-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวินัยพงษ์ คำแหง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ อิ่มท้องสมองใส โรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายวินัยพงษ์ คำแหง
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7258-2-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 พฤศจิกายน 2562 ถึง 25 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"อิ่มท้องสมองใส โรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
อิ่มท้องสมองใส โรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์)
บทคัดย่อ
โครงการ " อิ่มท้องสมองใส โรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 พฤศจิกายน 2562 - 25 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 327,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
การพัฒนาคนให้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งทางด้นรำงกายและจิตใจให้มีความสามารถในการเรียนรู้และ
พัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพ เป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการพัฒนาชาติอยั่งยืน แต่ปัญหาสุขภาพของประชาชนเป็น
ปัญหาระดับชาติที่เกิดจากการละเลยต้นโชนากรของคนทั่โครมถึงคนท กลายเป็นปัญหาที่ฐบาลตั้องจัดสรร
งบประมาณให้กับการบริการทางด้านสาธารณสุขเพื่อดูแลสุขภาพของคนไหย แทนที่จะใช้ไปพื่อพัฒนประเทศด้านอื่นๆ โภชนาการจึงเป็นเรื่องที่ผู้เกี่ยวข้องต้องร่วมมือกัน โดยเพาะอย่างยิ่งปัญหาของโรงเรียน คือ เต็กบางส่วนไม่ได้รับประทานอาหารเช้า ซึ่งเป็นมื้อที่สำคัญในการพัฒนสมอง ส่งผลให้นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการคือ น้ำหนัก ส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กรมอนามัยกำหนด อีกทั้งยังทำหนักเรียนที่ไมต้รับประทานอหารเช้าบ่อยครั้งเป็นโรคกระเพาะอาหารได้ และยังขาความพร้อมในการเรียน และในการทำกิจกรรม ซึ่งเป็นปัญหาที่กระทบกับโรงเรียนในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ ส่วนอีกปัญหหนึ่งของเต็กคือภาวะผุพโภชนาการ (ด็กอ้วน เด็กผอม) ปัญหาตังกล่าวหากพ่อแม่สร้างสิ่งแวดล้อมต่างๆ ให้หมาะสมสมองของเขาก็จะเติบโตและพัฒนาได้อย่างเต็มที่ ความสมบูรณ์ของสมองไนช่วงนี้ คือราฐานสำคัญของชีวิตและควมป็นนุษที่สมนูรณ์ ปะกอบกับช่วงวัยเรียนเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโต มีความต้องการอหารครบทั้ง๕ หมู่ ทำให้เด็กมีสติปัญญเฉลียวฉลาด ถ้าเด็กได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ก็จะทำให้ร่างกายแข็งแรงสบูรณ์ไม่มีอุปสดต่อการเรียนรู้และการเจริญเติบโตของร่งกายเมื่อท้องอิ่มีจิตใจก็แจ่มใส เบ่งบาน พร้อมปิดรับกับการเรียนรู้สิ่งใหม่
การดำเนินการแก้ไขปัญหาเด็กไม่ได้รับประทานอาหารเช้า และภาวะทุพโภชนาการถือเป็นหน้าที่ของโรงเรียน
ที่จะต้องตำนินการแก้ไขปัญหาซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติกศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 1 บททั่วไปความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา ๖ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจสติปัญญา ความรู้ และ คุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้ด้อย่างมีความสุข และสอดคล้องกับพระราชกิจจานุเบกษา ประกาศณะอนุกรรมการและป้องกันโรคภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 กิจกรรมบริการสาธารณสุขตามกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ตามประกาศแนบท้ายลงวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๗ ข้อ ๓. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน และ ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนคหาดใหญ่ เรื่อง การดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2559 ข้อ ๗ (๑)
ผลการดำเนินโครงการฯ ประจำปิงบประมาณ พ.ศ.2562 โรงเรียนเทศบาล (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) มีนักเรียนทั้งสิ้น ๑,๐๘๙ คน พบว่า นักเรียนที่โรงเรียนตรวจพบภาวะทุโภชนากรทั้งหมดจำนวน 123คน มีนักเรียน
จำนวน 1๑๑คน มีน้ำหนักและส่วนสูงตามกณฑ์คิดป็นร้อยละ ๙0.24 และนักเรียนที่มีภาวะพุฟโภชนาการ ได้
รับประทานอหารเช้าที่มีคุณภาพ ร้อยละ ๑๐๐ ผูปครองของนักเรียนที่มีปัญหาภาวะผุพโภชนาการจำนวน ๓๒๓ คน มีความพึงพอใจและเห็ความสำคัญของการรับประหนอหาเช้าร้อยละ 96.75 ซึ่งนับเป็นโครงการฯ ที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการรัประทานอหารเช้าและกวะทุพโภชนาการที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
โรงเรียนจึงดำเนินโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง โดยมีการสำรวจกเรียนที่มีภาวะผุพโภชนาการเพิ่มเติม พบว่าใน
ปิงปประมาณ พ.ศ. 2563 มีนักเรียนทั้งสิ้น 1,023 โรงรียนตรวจพนภวะผุฟโภชนากรจำนวน 120 คน โดยมีความมุ่งหวังเพื่อช่วยให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้ามีคุณค่ทางโภชนาการและครบ ๕ หมู่ มีพัฒนาการสมวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามภณฑ์มาตรฐาน มีสมาธิ เกิดความพร้อมในการเรียนรู้ สู่การเป็นเด็กที่มีติปัญญาฉลาดลสมวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ ๑ เพื่อแก้ไขและป้องกันภาวะทุพโภชนาการส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง มีพัฒนาการสมวัย
- ข้อที่ ๒ เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ
- ข้อที่ ๓ เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมองเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้าเป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ ๑) นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนเทศบาล ๓(โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) เทศบาลนครหาดใหญ่จำนวน๑๒๐ คน ๒) จัดนักเรียนประชุมผู้ปกครองของนักเรียนในโครงการ จำนวน ๑๒๐ คน เป้าหมายเชิงคุณภาพนักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหาร และเห็นความสำคัญของการรับประทาน อาหารเช้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ให้ความรู้แก่ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง อาหารมื้อเช้าสำคัญ สมองใส
- สรุปผลการดำเนินงาน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
- การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนโรงเรียนเทศบาล3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหารมีพัฒนาการสมวัย มีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน |
||
วันที่ 20 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 120 คน ได้รับประทานอาหารเช้า โดยครูเวรสวัสดิการของโครงการได้จัดเตรียมบริการ ณ โรงอาหาร โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยา คุณานุสรณ์) รายการอาหารดังนี้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ และปลอดภัย
|
0 | 0 |
2. การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน |
||
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2563กิจกรรมที่ทำนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 120 คน ได้รับประทานอาหารเช้า โดยครูเวรสวัสดิการของโครงการได้จัดเตรียมบริการ ณ โรงอาหาร โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยา คุณานุสรณ์) รายการอาหารดังนี้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพและปลอดภัย
|
0 | 0 |
3. การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน |
||
วันที่ 2 มีนาคม 2563กิจกรรมที่ทำนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 120 คน ได้รับประทานอาหารเช้า โดยครูเวรสวัสดิการของโครงการได้จัดเตรียมบริการ ณ โรงอาหาร โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยา คุณานุสรณ์) รายการอาหารดังนี้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพและปลอดภัย
|
0 | 0 |
4. การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 120 คน ได้รับประทานอาหารเช้า โดยครูเวรสวัสดิการของโครงการได้จัดเตรียมบริการ ณ โรงอาหาร โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยา คุณานุสรณ์) รายการอาหารดังนี้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพและปลอดภัย
|
0 | 0 |
5. การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน |
||
วันที่ 3 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 120 คน ได้รับประทานอาหารเช้า โดยครูเวรสวัสดิการของโครงการได้จัดเตรียมบริการ ณ โรงอาหาร โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยา คุณานุสรณ์) รายการอาหารดังนี้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพและปลอดภัย
|
0 | 0 |
6. การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน |
||
วันที่ 1 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 120 คน ได้รับประทานอาหารเช้า โดยครูเวรสวัสดิการของโครงการได้จัดเตรียมบริการ ณ โรงอาหาร โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภนพิทยา คุณานุสรณ์) รายการอาหารดังนี้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพและปลอดภัย
|
0 | 0 |
7. ให้ความรู้แก่ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง อาหารมื้อเช้าสำคัญ สมองใส |
||
วันที่ 18 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำผุ้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมอบรม เรื่อง อาหารมือเช้าสำคัญสมองใส ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองได้รับความรู้และให้ความสำคัญเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการของนักเรียนต
|
120 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ ๑ เพื่อแก้ไขและป้องกันภาวะทุพโภชนาการส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง มีพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัด : ๑.ตัวชี้วัด : นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการจำนวน ๑๐ คน มีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์ มาตรฐาน ร้อยละ90 |
0.00 |
|
||
2 | ข้อที่ ๒ เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ ตัวชี้วัด : ๒ ตัวชี้วัด : นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ ร้อยละ ๑๐๐ |
0.00 |
|
||
3 | ข้อที่ ๓ เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมองเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้าเป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ
๑) นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนเทศบาล ๓(โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) เทศบาลนครหาดใหญ่จำนวน๑๒๐ คน
๒) จัดนักเรียนประชุมผู้ปกครองของนักเรียนในโครงการ
จำนวน ๑๒๐ คน
เป้าหมายเชิงคุณภาพนักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหาร และเห็นความสำคัญของการรับประทาน
อาหารเช้า ตัวชี้วัด : ๓. ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองของนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการจำนวน ๑๒๐ คน มีความพึงพอใจและเห็น ความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า ร้อยละ ๙๐ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑ เพื่อแก้ไขและป้องกันภาวะทุพโภชนาการส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง มีพัฒนาการสมวัย (2) ข้อที่ ๒ เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ (3) ข้อที่ ๓ เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมองเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้าเป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ ๑) นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนเทศบาล ๓(โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) เทศบาลนครหาดใหญ่จำนวน๑๒๐ คน ๒) จัดนักเรียนประชุมผู้ปกครองของนักเรียนในโครงการ จำนวน ๑๒๐ คน เป้าหมายเชิงคุณภาพนักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหาร และเห็นความสำคัญของการรับประทาน อาหารเช้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้แก่ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง อาหารมื้อเช้าสำคัญ สมองใส (2) สรุปผลการดำเนินงาน (3) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (4) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (5) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (6) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (7) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (8) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (9) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (10) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (11) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน (12) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
อิ่มท้องสมองใส โรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ์) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7258-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวินัยพงษ์ คำแหง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......