กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3339-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มกราคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3339-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายนำการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกผสมผสาน เข้าสู่ระบบบริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เพ่อให้บริการเชิงรุกแก่ประชาชนในชุมชนในกลุ่มเป้าหมายต่างๆ เช่น กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง กลุ่มหญิงหลังคลอด กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบกล้ามเนื้อเรื้อรังในชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งเน้นให้ประชาชนมีสุขภาพดีด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และมีนโยบายสนับสนุนให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่ง มีการใช้ยาสมุนไพรในหน่วยบริการร่วมกับการให้บริการแพทย์แผนไทย เช่น บริการนวด อบ ประคบสมุนไพร และฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การดูแลมารดาหลังคลอด โดยบุคลากรแพทย์แผนไทยที่ผ่านการอบรมในหลักสูตรต่างๆ เพื่อลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน และเป็นทางเลือกแก่ประชาชนในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี มีหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ จำนวน 5 หมู่บ้าน ประชากรทั้งหมด จำนวน 4,391 ตน ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทำสวน รับจ้าง จากสถิติการให้บริการในหน่วยบริการ พบว่า ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง อาทิเช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขมันในเส้นเลือด และโรคอัมพฤกษ์ อัมพาตหรือโรคหลอดเลือดสมอง เป็นต้น ซื้อทำให้เกิดภาวะเเทรกซ้อนต่างๆ ได้ง่าย ที่สำคัญทำให้ผู้ป่วยต้องรับประทานยาหลายชนิดในปริมาณที่มากในระยะเวลานานซึ่งจะส่งผลต่อการทำงานของดับและไตของผู้ป่วยได้ จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่า ปัญหาโรคเรื้อรังต่างๆ ข้างต้นล้วนเป็นโรคที่คุกคามต่อชีวิตและความเป็นอยู่ ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยและครอบครัวต้องใช้งบประมานสูง เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา พยาบาล การบำบัดรักษาด้วยศาตร์การเเพทย์แผนไทย เป็นการรักษาความเจ็บป่วยแบบองค์รวมเป็นทางเลือกในการดูแลส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคการเฝ้าระวังโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่ได้ผลในการรักษาทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจควบคู่ไปกับการเเพทย์แผนปัจจุบันที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งเป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันที่มากเกินความจำเป็นในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง อาทิ การนวดเพื่อบำบัดหรือการนวดเพื่อฟื้นฟูร่างการของผู้ป่วยโรคอัมพฤกษ์อัมพาตหรือโรคหลอดเลือดสมอง การฟื้นฟูโดยการนวดจะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดลมในร่างกาย ทำให้เกิดความผ่อนคลาย ช่วยยืดเหยียดกล้ามเนื้อและข้อลดหรือบรรเทาการยึดติดของข้อ ช่วยทำให้ผู้ป่วยสามารถทำกิจวัตรประจำวันเพื่อช่วยเหลือตนเองได้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังมีกรรมวิธีการดูแลรักษากลุ่มอาการต่างๆ การดูแลบำรุงรักษาเท้าในกลุ่มผู้ป่วยโรคไตและโรคเบาหวานด้วยการแช่เท้าในน้ำสมุนไพร การพอกข้อหรือข้อเข่าที่มีภาวะอักเสบ บวม แดง ร้อนด้วยเครื่องยาพอกสูตรต่างๆ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องข้อหรือผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม การอยู่ไฟในสตรีหลังคลอดด้วยการอบไอน้ำสมุนไพร การทับหม้อเกลือ การนั่งถ่าน และการอาบน้ำสมุนไพร เพื่อให้ร่างกายพ้นจากความเมื่อยล้า เพื่อการส่งเสริมดูแลสุขภาพแบบองค์กรรวม ซึ่งเป็นอีกทางหนึ่งในวิธีที่ใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ เป็นการลดการใช้ยา รวมถึงการปรับภูมิทัศน์อาคารสถานที่ให้พร้อมและสะดวกต่อการให้บริการสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทยของประชาชนที่มารับบริการ ตลอดจนการส่งเสริมและให้ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยให้ผู้รับบริการ ในปี 2562 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี มีผู้มารับบริการด้วยการแพทย์แผนไทยและยาสมุนไพร จำนวน 1,400 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 16.33 และมูลค่าการใช้ยาสมุนไพรในการรักษาพยาบาล จำนวน 43,099 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.46 ซึ่งยังต่ำกว่าเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข จากเหตุผลข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการจัดการบริการสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทยให้กับประชาชนผู้มารับบริการ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน รพ.สต.บ้านฝาละมี ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชนด้วยการให้คนในชุมชนใช้สมุนไพรที่ปลูกเองเป็นทางเลือกในการรักษาโรค
  2. เพื่ออนุรักษ์พืชสมุนไพรและภูมิปัญญาทางการแพทย์แผนไทยในการใช้สมุนไพรรักษาโรค
  3. ส่งเสริมให้เกิดการปลูกสมุนไพรเพื่อทำการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ สามารถสร้างรายได้ต่อไปในอนาคต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเป้าหมายทุกกลุมได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ทำให้เกิดความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง คนในครอบครัวและชุมชน มีการใช้สมุนไพรและการแพทย์แผนไทยเป็นทางเลือกในการรักษา และช่วยลดการใช้ยาแผนปัจจุบันและค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย ทั้งได้พัฒนาหน่วยบริการได้มาตราฐานบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชนด้วยการให้คนในชุมชนใช้สมุนไพรที่ปลูกเองเป็นทางเลือกในการรักษาโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่ออนุรักษ์พืชสมุนไพรและภูมิปัญญาทางการแพทย์แผนไทยในการใช้สมุนไพรรักษาโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 ส่งเสริมให้เกิดการปลูกสมุนไพรเพื่อทำการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ สามารถสร้างรายได้ต่อไปในอนาคต
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชนด้วยการให้คนในชุมชนใช้สมุนไพรที่ปลูกเองเป็นทางเลือกในการรักษาโรค (2) เพื่ออนุรักษ์พืชสมุนไพรและภูมิปัญญาทางการแพทย์แผนไทยในการใช้สมุนไพรรักษาโรค (3) ส่งเสริมให้เกิดการปลูกสมุนไพรเพื่อทำการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ สามารถสร้างรายได้ต่อไปในอนาคต

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในชุมชน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3339-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด