กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์บริการสาธารณสุขแฟลตการเคหะแห่งชาติ ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
ศูนย์บริการสาธารณสุขแฟลตการเคหะแห่งชาติ




ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์บริการสาธารณสุขแฟลตการเคหะแห่งชาติ

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์บริการสาธารณสุขแฟลตการเคหะแห่งชาติ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์บริการสาธารณสุขแฟลตการเคหะแห่งชาติ



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์บริการสาธารณสุขแฟลตการเคหะแห่งชาติ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-1-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 89,970.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากความสำเร็จความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุขของไทย ทำให้ลดอัตราการตายของประชากรได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้จำนวนและสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้สัสวนประชากรผู้สูงอายุ หรือผู้ที่มีอายุ มากว่ ๖๐ ปีสูงขึ้น จนกลายเป็นประเทศของสังคสูงวัยซึ่งมีมากคว่ร้อยละ ๑๐ ซึ่งองค์การสหประชาชติให้นิยามว่าประเทศใดมีประชากรอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้นร้อยละ หรือ อายุ ๖๕ ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๔ ของจำนวนประชากรทั้งหมดของ ประเทศ ถือว่าประเทศนั้นก้วสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ซึ่ประเทศไทยมีประชากรผู้สูอายุเพิ่มจากร้อยละ ๑๐.๗ ในปี ๒๕๕๐ หรือ ๗.๐ล้านคน เป็นร้อยละ ๑๑.๗ หร่อ>.๕ ล้านคนในปี ๒๕๕๓ และร้อยละ ๒๐.๐ หรือ๑๔.๕ ล้านคนในปี ๒๕๖๘ (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, ๒๕๕๑)ขณะนี้ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว เนื่องจากเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมีผลกระทบอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะด้านการเงินและด้านสุขภาพ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรดังกล่าว ทำให้อัตราส่วนภาวะพึ่งพิง หรือภาวะโดยรวมที่ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยเด็กและวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้นโดยที่ยังมิได้คำนึถึงเรื่อง ค่ใช้จ่ายในการเลี้ยงดูซึ่งสูงขึ้นตามอายุซึ่งขณะที่อัตราส่วนกาวะพึ่งพาของประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้นอาจจะนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นวัยบั้นปลายของชีวิต เป็นวัยที่ต้องพึ่งพาบุตรหลานเพราะมีภาวะ ด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย อวัยวะต่งๆ ทั่วไปเริ่มอ่อนแอและเกิดโรคง่าย ปัญหาด้านสุขภาพที่พบได้บ่อยๆ ในผู้สูงอายุ ได้แก่ เกิดภาวะกระดูกหักง่ย สายตาไม่ดี หูตึง ฟันไม่ดี เป็นลมบ่อย เรอบ่อย ท้องผูก เบาหวาน หลงลืมบ่อย หัวใจและหลอดเลือด และปัญหาทางอารมณ์ ผู้สูงอายุเป็นวัยที่พึ่งพาตนเองได้น้อยลง กอปรกับผู้สูงอายุและครอบครั้วให้ความสำคัญในการดูแลรักษาสุขภาพน้อยลง ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริม กิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ การต่อยอด การพัฒนาผู้สูงอายุไปสู่เป้าหมาย ให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยไม่เป็นภาระต่อสังคมและครอบครัวต่อไป ศูนย์บริการสาธารณสุขแฟลตการเคหะแห่งชาติจึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข เพื่อเป็นการให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของผู้สูงอายุโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ การดูแลตนเองเพื่อป้องกันการลื่นลัม เพื่อให้ผู้สูงอายุและญาติได้มีความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพได้ถูต้องและเหมาะสม ไม่เป็นการะของคอบครัว ส่งผลให้ผู้สูงอายุรูคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑ เพื่อส่งเสริมสุขภาพของ ผู้สูงอายุและญาติให้มีความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ ของผู้สูงอายุ อาหารที่เหมาะกับ วัยสูงอายุ การออกกำลังกายที่ เหมาะสม และการป้องกันการลืน ล้มในผู้สูงอายุ
  2. ๒ เพื่อประเมินคัดกรอง ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุในเขต พื้นที่ที่รับผิดชอบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและญาติ
  2. ประเมินคัดกรองผู้สูงอายุและกิจกรรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ และด้านอารมณ์
  3. ประชาสัมพันธ์
  4. การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑1ผู้สูงอายุและญาติ มีความรู้ มีทักษะการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ และสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน 2.ผู้สูงอายุได้รับคัดกรองภาวะสุขภาพ 3.ผู้สูงอายุได้ออกกำลักายที่เหมาะสม รู้สึกมีคุณคำในตนเอง มีสุขภาพจิตที


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและญาติ

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อให้มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีขึ้นรู้วิธีการออกำลังกายแบบถูกวิธี

 

76 0

2. ประเมินคัดกรองผู้สูงอายุและกิจกรรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ และด้านอารมณ์

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ให่้ความรู้การออกำลังกายอย่างถูกวิธี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุให้ความสนในมากขึ้น

 

500 0

3. การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกาย

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อให้ผู้สูงอายุหาันมาสนใจกาารออกำลังกายมากชึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุให้ความสสนใจกานรออกำลังกายและให้ความสนใจดูแลตัวเองมากขึ้น

 

0 0

4. ประชาสัมพันธ์

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ผู้สูงอายุมีความสนใจและดูแลตัวเองมากขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้ให้ความสนใจเรื่องของการออกกำลังตรวจสุขภาพและดูและตัวเอง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑ เพื่อส่งเสริมสุขภาพของ ผู้สูงอายุและญาติให้มีความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ ของผู้สูงอายุ อาหารที่เหมาะกับ วัยสูงอายุ การออกกำลังกายที่ เหมาะสม และการป้องกันการลืน ล้มในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุและญาติ มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตัวเอง ด้านโภชนาการการฟืนฟูสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ และสามารถดูแลตนเองไม่ให้เกิด การลื่นล้ม
0.00

 

2 ๒ เพื่อประเมินคัดกรอง ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุในเขต พื้นที่ที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพร้อยละ ๘๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อส่งเสริมสุขภาพของ ผู้สูงอายุและญาติให้มีความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ ของผู้สูงอายุ อาหารที่เหมาะกับ วัยสูงอายุ การออกกำลังกายที่ เหมาะสม และการป้องกันการลืน ล้มในผู้สูงอายุ (2) ๒ เพื่อประเมินคัดกรอง ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุในเขต พื้นที่ที่รับผิดชอบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและญาติ (2) ประเมินคัดกรองผู้สูงอายุและกิจกรรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ และด้านอารมณ์ (3) ประชาสัมพันธ์ (4) การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์บริการสาธารณสุขแฟลตการเคหะแห่งชาติ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์บริการสาธารณสุขแฟลตการเคหะแห่งชาติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด