กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล"ใช้ยาปฏิชีวนะสมเหตุสมผลลดปัญหาเชื้อดื้อยา(Antibiotics Smart Use) ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
งานเภสัชกรรม ฝ่ายบริการสาธราณสุขและสิ่งแวดล้อม




ชื่อโครงการ ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล"ใช้ยาปฏิชีวนะสมเหตุสมผลลดปัญหาเชื้อดื้อยา(Antibiotics Smart Use)

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 15 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล"ใช้ยาปฏิชีวนะสมเหตุสมผลลดปัญหาเชื้อดื้อยา(Antibiotics Smart Use) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล"ใช้ยาปฏิชีวนะสมเหตุสมผลลดปัญหาเชื้อดื้อยา(Antibiotics Smart Use)



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล"ใช้ยาปฏิชีวนะสมเหตุสมผลลดปัญหาเชื้อดื้อยา(Antibiotics Smart Use) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 15 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,475.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่สมเหตุผลเป็นหนึ่งในสาเหตุที่นำมาซึ่งปัญหาเชื้อดื้อยา ทำให้เกิดปัญหาความ ไม่ปลอดภัยทางด้นสุขภาพ เสี่ยงต่อการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาเพิ่มขึ้น และยังส่งผลกระทบด้านเศรษฐกิจของประเทศ จากการประมาณการทั่วโลกพบผู้เสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาประมาณปีละ ๗๐๐,๐๐๐ คน หากไม่เร่งแก้ปัญหาอย่าง จริงจัง คาดว่าใน พ.ศ.๒๕๙๓ การเสียชีวิจากเชื้อดื้อยาจะสูงถึง ๑๐ ล้านคน สำหรับประเทศไทยการศึกษาเบื้องตัน พบว่ามีการติดเชื้อดื้อยาประมาณปีละ ๘๘,๐๐๐ ครั้ง เสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาประมาณปีละ ๓๐,๐๐๐ คน ทั้งนี้ คิดเป็นการสูญเสียทางเศรษฐกิจโดยรวมสูงถึง ๔.๒ หมื่นล้านบาท เทศบาลนครหาดใหญ่ ในส่วนของการบริการทางการแพทย์ได้จัดให้มีบริการตรวจสุขภาพ รักษาพยาบาลในเวลา และนอกเวลาราชการทั้งในศูนย์บริการสาธารณสุขจำนวน ๑๔ แห่ง รวมถึงการติดตามดูแลสุขภาพของผู้ป่วยและสมาชิกในครอบครัวของชุมชนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ตระหนักถึงการให้บริการที่มีเป้าหมายคือผลการรักษาเป็นไปตาม เกณฑ์ ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสร้างความปลอดภัยในการใช้ยาโดยการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ไม่ใช้ยาอย่างไม่จำเป็นและเกินความจำเป็น ทั้งนี้มีปัจจัยสำคัญคือผู้ป่วยจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และให้ความร่วมมือในการใช้ยา รวมถึงการดูแล การปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังควรให้ความรู้กับบุคลากรในชุมชน เช่น อาสาสมัคร สาชารณสุประจำหมู่บ้าน(อสม.) บุคลากรที่ดูแลสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน เพื่อเป็นกำลังสำคัญในการช่วยกันดูแลการใช้ยาของสมาชิกในชุมชนอีกด้วย ดังนั้น งานเภสัชกรรม ฝ่ายบริการสาธารณสุ สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการ ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล "ใช้ยาปฏิชีวนะสมเหตุผล ลดปัญหาเชื้อดื้อยา"ขึ้น เพื่อให้การใช้ยาปฏิชีวนะเป็นไป อย่างสมเหตุผล มีคุณภาพและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างกระแส จูงใจให้ประชาชนตระหนักถึง ความสำคัญของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้อง สมเหตุผล และมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เรื่องการใช้ยาที่ถูกต้อง ซึ่งจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยาของประชาชน
  3. เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็น ลดปัญหาเชื้อดื้อยา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลใน 3 โรคพบบ่อยที่ไม่ได้เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย(อสม.)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้อง สมเหตุผล และมีประสิทธิภาพ

๒. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการใช้ยาปฏิชีวนะที่ถูกต้อง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยา

๓. ปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะในชุมชนลดลง ใช้ยาตามบ่งชี้ ไมใช้ยาอย่างไม่จำเป็นและเกินความจำเป็น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลใน 3 โรคพบบ่อยที่ไม่ได้เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย(อสม.)

วันที่ 25 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมให้ความรู้เครื่อข่าย อสม. 381 คน

- ทำแบบทดสอบความรุ้ ก่อน-หลัง 2. กิจกรรมตู้ยาโรงเรียน
- ให้ความรุ้แนะนำข้อมูลวิธีใช้ยา การเก็บรักษายาที่่ถูกต้อง ให้บุคลากรห้องพยาบาลในโรงเรียน 11 แห่ง - มอบคู่มือการใช้ยาและแนวทางการรักษาโรคที่พบบ่อยในโรงเรียน 3. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องยาปฏิชีวนะ ฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อสม.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้นหลังการอบรม ร้อยละ 86.30
  2. อัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในศูนย์บริการสาธารณสุขลดลง

 

0 0

2. ประชาสัมพันธ์

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จัดทำแผ่นพับ 3,000 แผ่น 2.ทำป้ายสแตนดี้ไดคัทพร้อมขาตั้งเหล็ก 5 ป้าย 3. ทำป้ายสติ๊กเกอร์โฟมบอร์ด 8 ป้าย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างกระแส จูงใจให้ประชาชนตระหนักถึง ความสำคัญของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้อง สมเหตุผล และมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ประชาชนให้ความสนใจ ตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้อง สมเหตุผล และมีประสิทธิภาพ
0.00

 

2 เพื่อให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เรื่องการใช้ยาที่ถูกต้อง ซึ่งจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยาของประชาชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยา ไม่ใช้ยาอย่างไม่จำเป็นและเกินความจำเป็น
0.00

 

3 เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็น ลดปัญหาเชื้อดื้อยา
ตัวชี้วัด : ปริมาณการใช้ยาปฏิชีวนะในชุมชนลดลง ใช้ยาตามข้อบ่งชี้ ไม่ใช้ยาอย่างไม่จำเป็นและเกินความจำเป็น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกระแส จูงใจให้ประชาชนตระหนักถึง ความสำคัญของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้อง สมเหตุผล และมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เรื่องการใช้ยาที่ถูกต้อง ซึ่งจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยาของประชาชน (3) เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็น ลดปัญหาเชื้อดื้อยา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ (2) อบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลใน 3 โรคพบบ่อยที่ไม่ได้เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย(อสม.)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล"ใช้ยาปฏิชีวนะสมเหตุสมผลลดปัญหาเชื้อดื้อยา(Antibiotics Smart Use) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( งานเภสัชกรรม ฝ่ายบริการสาธราณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด