กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ สร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการจมน้ำในเด็กนักเรียน
รหัสโครงการ 63-L7258-1-35
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ฝ่ายบริการสาธารณสุข สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
วันที่อนุมัติ 27 กันยายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 372,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายณตฤณ เพ็ชรมี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.01,100.474place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล สถานการณ์ความรุนแรงของปัญหาเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำในประเทศไทย รายงานการจมน้ำระดับโลก(Global Report on Drowning) ขององค์กรอนามัยโลก พบว่าทุกปีมีด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ ๑๔๐,๒๑๙ คน โดยเสียชีวิตเป็นอันดับ ๓ รองจากโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และเอดส์ ประเทศไทยพบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันตับ 1 ของเด็กไทยอายุต่ำว่า ๑๕ ปีในทุก ๆ วันจะมีเด็ก (อายุต่ำกว่า 15 ) จมน้ำเสียชีวิต ๒ คน จากข้อมูลเหตุการณ์เด็กจมน้ำช่วงปิดเทอม (มีนาคม-พฤษภาคม) พบว่ร้อยละ ๘๐.4 ของเด็กที่จมน้ำ ส่วนให่ญขาดทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำและไม่รู้วิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้อง จากข้อมูลการฝระวังของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ที่ ๑๒ จังหวัดสขลา การจมน้ำของเด็กในเชต ๑2 พบว่าพื้นที่เสี่ยงมาก อยู่ในจังหวัดสตูล และปัตตนี พื้นที่เสียงปานกลาง ได้แก่ งังหวัดสงขลาและนราธิวาส ส่วนพื้นที่ส่วนพื้นที่เสียงน้อย ได้แก่ จังหวัดตรัง พัทลุงและยะลา ช่วงระยะเวลาที่ต้องฝ้ระวังการจมน้ำ คือการจมน้ำ คือในช่วงปิดภาคเรียนฤดูร้อนตั้งแต่เดือนมีนาคม - เมษายน สาเหตุการเสียชีวิตมาจากการจมน้ำเป็นเวลานาน ณ จุดเกิดเหตุ และการไม่ได้รับการช่วยเหลือที่ถูกต้องทันเวลา พบผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต้ำกว่า 1๕ ปี จำนวน ๔๕ คน เพศชายสูงกว่าเพศหญิง สถานที่เกิดเหตุส่วนใหญ่เกิดในคลอง แม่น้ำ แองน้ำ น้ำต รองลงมาเป็นคลองชุด ร่องขุด คลองชลประทานฝ่ายกั้นน้ำ และทะเล เด็กมักจะจมน้ำเสียชีวิตพร้อมกันหลาย ๆ คน เนื่องจากเด็กไม่รู้วิธีการเอาชีวิตรอดในน้ำและวิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้อง จึงมักจะกระโดด ลงไปช่วยคนที่ตกน้ำ ทำให้เกิดการสูญเสียทั้งเด็กที่ประสบเหตุและผู้ที่ให้การรช่วยเหลือและจากการศึกษาของสำนักงานโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค พบว่เด็กไทยอายุต่ำกว่า ๑5 ปี สมารถว่ายน้ำได้มีร้อยละ ๒3.๗) และสามารถว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ โดยมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอด และทักษะการช่วยหลือ มีเพียร้อยละ ๔.๔ ทั้งนี้ เด็กที่เรียนหลักสูตว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดจะมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ และทักษะการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำมากกว่าคนที่ไม่ได้เรียน ในการนี้ สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้จัดโครงการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการจมน้ำในเด็กนักเรียนขึ้น เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนและสถานศึษา มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำมีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในบื้องตัน และเพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทักษะในการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เด็ก เยาวชน ในพื้นที่เขตเทศบาลนครหาดใหญ่ มีทักษะในการลอยตัวและทักษะการเอาตัวรอดจากการจมน้ำได้

1.ผู้เข้ารับการอบรมฝึกผ่านการประเมินทักษะการฝึกปฎิบัติ ร้อยละ 100

0.00
2 2.เพื่อลดอันตราการสูญเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กในพื้นที่เขตเทศบาลนครหาดใหญ่ อายุต่ำกว่า 15 ปี
  1. ผู้เข้าการฝึกอบรมเข้าร่วมกิจกรรมการอบรมไม่น้อยกว่า 80
0.00
3 3. เพื่อให้เด็ก เยาวชนในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ มีทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำด้วยการหยิบยื่นโยนวัสดุใกล้ตัวอย่างถูกต้อง
  1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีตงามพึงพอใจต่อกระบวนการอบรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ75
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 1440 372,500.00 1 154,670.00 217,830.00
18 ก.ย. 63 อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดและการปฐมพยาบาลจากการจมน้ำ 1,440 372,500.00 154,670.00 217,830.00
รวมทั้งสิ้น 1,440 372,500.00 1 154,670.00 217,830.00

1.แต่งตั้งคณะคณะกรรมการดำเนินงาน 2.ประชุมชี้แจงครูและผู้ปกครองนักเรียนและเยาวชนพร้อมสำรวจพื้นที่แหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน/สถานศึกษา 3.สำรวจเด็กและเยาวชนที่มีอายุ15ปีในพื้นที่เขตเทศบาลนครหาดใหญ่ที่ว่าน้ำไม่เป็นพอที่เป็นเล็กน้อยหรือว่ายไม่ถูกวิธี เข้าร่วมกิจกรรม 4.จัดทำและขออนุมัติโครงการ 5.ประชาสัมพันธ์โครงการ 6.ประสานวิทยากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 7.ดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง 8. อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาตัวรอด และการปฐมพยาบาลเบื้องต้นจากการจมน้ำ 9.ประเมินผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่เขตเทศบาลนครหาดใหญ่มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะการป้องกันการจมน้ำ และการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ 2.เพื่อลดปัญหาเด็กอายุต่ำกว่า15ปีเสียชวิตจากการจมน้ำ 3.เพื่อให้เด็กมีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลเบื่อต้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 พ.ย. 2562 07:58 น.