กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ผู้ก่อการดี (Merit Maker) การดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ ปี 2563 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายณตฤณ เพ็ชรมี




ชื่อโครงการ ผู้ก่อการดี (Merit Maker) การดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-34 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"ผู้ก่อการดี (Merit Maker) การดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ ปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ผู้ก่อการดี (Merit Maker) การดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " ผู้ก่อการดี (Merit Maker) การดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-1-34 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การจมน้ำเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี ซึ่งสูงมากกว่าทุกสาเหตุ ทั้ง โรคติดเชื้อและไม่ติดเชื้อ สาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี ในทุก ๆ วันจะมีเด็ก (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) จมน้ำเสียชีวิต ๒ คน จากข้อมูลเหตุการณ์เด็กจมน้ำช่วงปิดเทอม มีนาคม - พฤษภาคม พบว่าร้อยละ 80.4 ของเด็กที่จมน้ำ ส่วนใหญ่ขาดทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำและไม่รู้วิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้อง กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดแผนยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี ด้านสาธารณสุข (2560-2564) โดยตั้งเป้าหมายลดอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี ให้ลดลง เหลือ 3.0 ต่อประชากรเด็กแสนคน (ประมาณ 360 คน) ในปี 2564 ซึ่งปัจจุบันอัตราการเสียชีวิตของเด็กอยู่ที่ 6.3 (717คน) จากข้อมูลการเฝ้าระวังของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา การจมน้ำของเด็กไทยเขต 12 พบว่าพื้นที่ เสี่ยงมาก อยู่ในจังหวัดสตูล และปัตตานี พื้นที่เสี่ยงปานกลางได้แก่ จังหวัดสงขลาและนราธิวาส ส่วนพื้นที่เสี่ยงน้อย ได้แก่ จังหวัดตรัง พัทลุง และยะลา ใน 2561 จังหวัดสงขลา มีเด็กอายุไม่เกิน 15 เสียชีวิตจากการจมน้ำ จำนวน 17 ราย ช่วงระยะที่ ต้องเฝ้าระวังการจมน้ำ คือในช่วงปิดภาคเรียนฤดูร้อน ตั้งแต่เดือนมีนาคม-เมษายน สาเหตุการเสียชีวิตมาจากการจมน้ำเป็น เวลานาน ณ จุดเกิดเหตุ และการไม่ได้รับการช่วยเหลือที่ถูกต้องทันเวลา สถานที่เกิดเหตุส่วนใหญ่เป็นแหล่งน้ำธรรมชาติได้แก่ คลอง แม่น้ำ แอ่งน้ำ น้ำตก รองลงมาเป็นคลองขุด ร่องขุด คลองชลประทาน ฝายกั้นน้ำ และทะเล เด็กมักจะจมน้ำเสียชีวิตพร้อมกันหลาย ๆ คน เนื่องจากเด็กไม่รู้วิธีการเอาชีวิตรอดในน้ำและวิธีช่วยเหลือที่ถูกต้อง จึงมักจะกระโดด ลงไปช่วยคนที่ตกน้ำ ทำให้เกิดการสูญเสียทั้งเด็กที่ประสบเหตุและผู้ที่ให้การช่วยเหลือ ดังนั้น สำนักการสธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาสาธารณสุขที่ต้องเร่ง ดำเนินการแก้ไข เพื่อลดปัญหาการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี โดยการจัดอบรมเพื่อจัดตั้งทีมเครือข่ายใน การป้องกันการจมน้ำ ภายใต้โครงการผู้ก่อการดี (Merit Maker) การดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำทุกมาตรการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อให้เกิดความร่วมมือทุกภาคส่วนในการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ โดยใช้ทรัพยากรในพื้นที่
  3. เพื่อให้ผ่านการรับรองเป็นผู้ก่อการดีการดำเนินงานป้องกันการ จมน้ำระดับทองแดง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อลดปัญหาเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีเสียชีวิตจากการจมน้ำ 2.เพื่อให้เด็กมีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาล 3.เพื่อให้เด็กและเยาวชนในจังหวัดสงขลามีความรู้ในการป้องกันการจมน้ำการเอาชีวิตรอดจากจมน้ำ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 100 คน

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำทุกมาตรการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : มีการดำเนินงานการป้องกันเด็กจมน้ำ ร้อยละ ๕๐
0.00

 

2 เพื่อให้เกิดความร่วมมือทุกภาคส่วนในการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ โดยใช้ทรัพยากรในพื้นที่
ตัวชี้วัด : มีการจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณแห่งน้ำเสียในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ร้อยละ ๕๐ หรืออย่างน้อย ๑๐ แห่ง
0.00

 

3 เพื่อให้ผ่านการรับรองเป็นผู้ก่อการดีการดำเนินงานป้องกันการ จมน้ำระดับทองแดง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำทุกมาตรการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อให้เกิดความร่วมมือทุกภาคส่วนในการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ โดยใช้ทรัพยากรในพื้นที่ (3) เพื่อให้ผ่านการรับรองเป็นผู้ก่อการดีการดำเนินงานป้องกันการ จมน้ำระดับทองแดง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ผู้ก่อการดี (Merit Maker) การดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ ปี 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-34

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณตฤณ เพ็ชรมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด