กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่
รหัสโครงการ 63-L7258-5-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครหาดใหญ่
วันที่อนุมัติ 27 กันยายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 3,000,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครหาดใหญ่
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.01,100.474place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักการหลักประกันสุภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่พ.ศ. ๒5๕๗ ได้กำหนดหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินกองทุนพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ไว้ ๕ ประเภท ซึ่งได้ระบุให้ประเภทที่ ๕ ใช้ในกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วนของเทศบาลนครหาดใหญ่ด้านการป้องกันและบรรเทาอุทกภัย สาธารณภัย ภัยพิบัติต่างๆ เนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทำให้การแพร่ระบาดพร่ระบาดของโรคสายพันธุ์ต่งๆ การเกิดปัญหาหมอกควันจากประเทศอินโดนี่เซียในอดีต ทำให้เกิดหมอกควันในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ และพื้นที่ในจังหวัดสงชลาอย่างหนาแน่น ส่งผลให้ประชาชนมีอาการแสบตา หายใจติดขัด เกิดปัญหาในระบกางเดิหายใจ โดยฉพาะกลุ่มประขาชที่มีการะเสียง เช่นเด็ก ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยภูมิแพ้ ปัญหากรเกิดน้ำท่วมอำภอหาดใหญ่ในอดีตตั้งแต่ ปี 2336 - 2553 นับ จำนวน 14 ครั้ง ส่งผลให้เกิดโรคต่งๆ ตามมา ซึ่งโคที่ควรเฝ้าระวังเป็นพิเศษ จำนวน 7 โรค ได้แก่ ตาแดง ฉีหนู ไช้เลือดออก อุจจาระร่วง มือ เท้า ปาก การเกิดโรคติดต่อในโรงเรียนในช่วงหน้าฝนมักพบโรคมือเท้าปากในปี ๒๕๖๐ จังหวัดสงขลาพบผู้ป่วยมากที่สุดในภาคใต้จำนวน ๓๙๐ ราย โรคอหิวาตกโรค "ลฯ แนวโน้มการเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่อุบัติซ้ำจากจะมีเพิ่มขึ้นในอนาคตเนื่องจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป เทศบาลนครหาดใหญ่เป็นพื้นที่หนึ่งที่เคยประสบภัยพิบัติจากภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขและผลกระทบจากโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ จากสถานการณ์ดังกล่าวทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนภายในขตเทศบาลนครหาดใหญ่ พื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับนโยบายตำนสาธารณสุข สำนัการสรรณสุขและสิ่งแวดเทศบาลนครหาดใหญ่ ไต้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับสุนภาพของประชาชน จึงได้ดำเนินโครงการป้องกันและแค็ขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัตีในพื้นที่ เพื่อการป้องกันควบคุมโรคไม่ให้เกิดการระบาตในวงกว้าง และให้ควารู้แก่ประชาชนพื่อลดผลกระพบจากกาเกิดภัยพิบัติต่างๆ ด้านสาธารณสุข

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ประชาชนได้รับการดูแลและป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง

ประชาชนได้รับการดูแลและป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง

0.00
2 2.เพื่อลดอันตรายป่วย ภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ

ลดอัตราป่วยภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 3,000,000.00 0 0.00 3,000,000.00
1 ต.ค. 63 ประชุมเตรียมการ 0 100,000.00 - -
1 ต.ค. 63 จัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ 0 1,800,000.00 - -
1 ต.ค. 63 สื่อสารและประชาสัมพันธ์ 0 300,000.00 - -
1 ต.ค. 63 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นและเกี่ยวข้อง 0 800,000.00 - -
รวมทั้งสิ้น 0 3,000,000.00 0 0.00 3,000,000.00

1.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
2.ติมตามสถานการณ์และรวบรวมข้อมูล
3.ติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพร้อมจัดประชุมเพื่อวางแผนแก้ไขปัญหา
4.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และเวรภัณฑ์ให้เพียงพอในการป้องกันและควบคุมโรค
5.ติดตามเยี่ยมและประเมินสุขภาพของประชาชนในเขตเทศบาล
6.ดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและผลกระทบจากภัยสุขภาพ
7.ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดความสำเร็จ สรุปปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะแนวแก้ไข

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในเขตเทศบาลมีความรู้เกี่ยวกับโรคและสามรถปฎิบัติเพือป้องกันโรคและภัยทางสุขภาพได่อย่างได้อย่างถูกต้อง
2.ประชาชนภายในเขตเทศบาลสมารถเตียมตัวป้องกันภาวะฉุกเฉิกทางสุขภาพได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 พ.ย. 2562 09:27 น.