กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเสะ


“ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ ”

ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายอดุลย์ จิ้วตั้น

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L0000-2-01 เลขที่ข้อตกลง 3/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 พฤศจิกายน 2562 ถึง 20 พฤศจิกายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเสะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L0000-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 พฤศจิกายน 2562 - 20 พฤศจิกายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเสะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลตะเสะมีประชากรที่เป็นผู้สูงอายุ จำนวน ๖๐๐ กว่าคน และมีผู้สูงอายุที่อายุ ๗๐ ปีขึ้นไปบางรายเป็นผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน และผู้สูงอายุที่สามารถดูแลตัวเองซึ่งในแต่ละคนสามารถดูแลตนเองได้และดูแลตนเองไม่ได้ อีกทั้งผู้สูงอายุและคนดูแลบางรายยังขาดความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง เนื่องเพราะผู้สูงอายุบางรายมีโรคประจำตัวและบางรายติดบ้าน ติดเตียง เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลได้รับทราบถึงการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง โดยจัดแบ่งการดูแลเป็นกลุ่มๆไป    เช่น ผู้สูงอายุที่สามารถดูแลตนเองได้นำมาเข้าร่วมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุที่ติดเตียงและติดบ้านจะดำเนินการลงพื้นที่ดูแลสุขภาพถึงบ้าน ทำให้ผู้สูงอายุได้รับบริการอย่างทั่วถึง นั้น       ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะเสะ  ซึ่งเป็นกลุ่มองค์กรที่ใกล้ชิดคนในชุมชนและทราบถึงปัญหาด้านสุขภาพเป็นอย่างดี  จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพจิตในผู้สูงอายุขึ้น เพื่อเป็นทางหนึ่งที่สามารถให้กลุ่มคนตามเป้าหมายได้เข้าถึงการบริการอย่างถูกต้องและเห็นถึงคุณค่าของตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพจิตของตนเองได้อย่างถูกต้อง 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีอายุ ๗๐ ปี ขึ้นไป และที่ติดเตียง ติดบ้าน ได้เข้าถึงการบริการดูแลสุขภาพอย่างทั่วถึง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพจิตในผู้สุงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 160
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ .ผู้สูงอายุ ๖๐-๖๙ ปีได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพกายจิตอย่างถูกต้องและนำไปปฏิบัติดูแลตนเองได้ดียิ่งขึ้น ๒. ผู้สูงอายุกลุ่มที่มีอายุ ๗๐ ปี ขึ้นไปได้รับการดูแลสุขภาพถึงบ้านและสามารถเข้าถึงการบริการครบตามกลุ่มเป้าหมาย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพจิตในผู้สุงอายุ

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดประชุมแกนนำ อสม.คัดกรองกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน ๑๖๐ คน  แยกเป็น     * ผู้สูงอายุช่วงอายุตั้งแต่  ๖๐-๖๙ ปีที่มีสุขภาพไม่สมบูรณ์มีโรคประจำตัว อยู่คนเดียว  จำนวน  ๗๐ คน       * ผู้อายุที่มีช่วงอายุ  ตั้งแต่  ๗๐ ปี ขึ้นไป      จำนวน    ๙๐  คน
    ๓. จัดกิจกรรมให้  จำนวน  ๒  กลุ่มเป้าหมาย       *ผู้อายุที่มีช่วงอายุ ตั้งแต่ ๖๐ ปี –  ๖๙  ปี จำนวน  ๗๐  คน  จัดกิจกรรมการอบรมให้ความรู้  จำนวน ๑ วัน       * ผู้อายุที่มีช่วงอายุ ตั้งแต่ ๗๐ ปี ขึ้นไป จำนวน  ๙๐  คน
        จัดกิจกรรมลงพื้นที่ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ/ตรวจวัดความดันโลหิต จำนวน  ๒  วัน         โดย อสม. ประจำหมู่บ้าน ๆละ  ๑๐ คน ลงพื้นที่ในเขตหมู่บ้านที่รับผิดชอบ โดยแบ่งพื้นที่ความรับผิดชอบ  ดังนี้   ๑.  หมู่ที่  ๑ ,๒,๖  จำนวน  ๔๕  คน  จำนวน  ๑ วัน
  ๒.  หมู่ที่ ๓,๔,๕, จำนวน  ๔๕  คน    จำนวน  ๑ วัน
    ๕.  มอบหมายผู้รายงานผลหลังเสร็จสิ้นโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิตเชิงปริมาณ 1.กลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ  60-69  ปี  เข้าร่วมครบร้อย 100 2.กลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ  70 ปีขึ้น    ได้รับการบริการดูแลสุขภาพถึงบ้าน ครบร้อยละ100 ผลลัพธ์ 1.กลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ  60-69  ปีได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพกาย จิตของตนเองได้ดี ร้อยละ 80 2.กลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ  70  ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรค การตรวจวัดความดันโลหิตและสุขภาพกาย-จิต ครอบตามกลุ่มเป้าหมาย

 

160 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตอย่างถูกต้องและนำไปปฏิบัติดูแลตยเองได้ดียิ่งขึ้น 2.ผู้สูงิายุ 701 ปี ขุึ้นไปได้รับการดูแลสุขภาพถึงบ้านและสามารถเข้าถึงบริการครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพจิตของตนเองได้อย่างถูกต้อง 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีอายุ ๗๐ ปี ขึ้นไป และที่ติดเตียง ติดบ้าน ได้เข้าถึงการบริการดูแลสุขภาพอย่างทั่วถึง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ 60-69 ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพจิตตนเอง มีความเข้าใจในการปฏิบัติตนเอง ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุ 70 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองในการดูแลสุขภาพอย่างทั่วถึง ร้อย 90
300.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 160 160
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพจิตของตนเองได้อย่างถูกต้อง 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีอายุ ๗๐ ปี ขึ้นไป และที่ติดเตียง  ติดบ้าน ได้เข้าถึงการบริการดูแลสุขภาพอย่างทั่วถึง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพจิตในผู้สุงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L0000-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอดุลย์ จิ้วตั้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด