กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ


“ โครงการ มหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต 2562( ภาค 2 ) ”

ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอมร แก้วมาก

ชื่อโครงการ โครงการ มหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต 2562( ภาค 2 )

ที่อยู่ ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5181-01-06 เลขที่ข้อตกลง 006/63

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ มหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต 2562( ภาค 2 ) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ มหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต 2562( ภาค 2 )



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ มหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต 2562( ภาค 2 ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5181-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 พฤศจิกายน 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,125.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย จึงเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรที่เริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อน และมีสุขภาพแข็งแรง น้ำหนักทารกแรกเกิด เป็นข้อบ่งชี้ที่สำคัญของการเจริญเติบโต และการมีชีวิตรอดของทารก ทารกที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม มีอัตราการอยู่รอดต่ำ มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการเด็กล่าช้า ระบบภูมิคุ้มกันต่ำ มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรค ของการเสียชีวิตของทารกแรกเกิด เกิดในกลุ่มทารกน้ำหนักน้อย หรือถ้ารอดตายในช่วงต้นของชีวิต ก็อาจมีปัญหา ในด้านการเจริญเติบโต หรือพัฒนาการตามมา เช่น ปัญหาในด้านการเรียน การมองเห็น โรคทางเดินหายใจ โรคทางเดินอาหาร หรือการเป็นเด็กพิการ ปัญญาอ่อน จากข้อมูลงานอนามัยแม่และเด็ก ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทับ ย้อนหลัง 3 ปี ตั้งแต่ปี 2559 - 2561พบว่า 1. มีอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ร้อยละ 7.19, 7.90 และ 7.83 ตามลำดับ (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 7) การคลอดก่อนกำหนด เป็นสาเหตุปัจจัยของทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม ร้อยละ 4.62, 5.22 และ 8.51 ตามลำดับ ที่เหลือเกิดจากปัจจัยด้านการเจริญเติบโตช้าในครรภ์ อันเนื่องมาจากภาวะโภชนาการ การได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ ภาวะแคระแกร็น พฤติกรรมการบริโภค การทำงาน และการพักผ่อนของหญิงตั้งครรภ์ ส่งผลต่อการมีพัฒนาการล่าช้าของเด็กและข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ 3 ปีย้อนหลัง รายใหม่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ94.62 , 55.41และ 94.75ตามลำดับ (เป้าหมาย ร้อย 60) และได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ89.06 96.88และ86.96ตามลำดับ ( เป้าหมาย ร้อยละ 65 )  และนอกจากนี้มีจำนวนเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการที่ต้องดูแลและติดตามต่อเนื่องจากปี 2561 และค้นหาเพิ่มเติมในปี2562 จำนวน ทั้งสิ้น 12 คน และจากปีที่ผ่านมา ปี2561 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทับ ได้รับงบสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาทับในโครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต โดยมีกิจกรรมการดูแลสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ตลอดจนเด็กอายุแรกเกิดจนถึง 5 ปี และสร้างความเข็มแข็งของเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็ก จากผลสรุปงานกิจกรรมในโครงการรณรงค์ให้หญิงมีครรภ์ได้มีการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 3 เดือนได้ร้อยละ94.74 ในปี2560 ร้อยละ55.41เพิ่มขึ้น ร้อยละ39.33 ซึ่งส่งผลต่อหญิงมีครรภ์คลอดลูกมีน้ำหนักแรกคลอดมากกว่า 2,500 กรัม โดยข้อมูลปี2560 มีเด็กแรกคลอดน้ำหนักต่ำกว่า2,500 กรัม ร้อยละ 13.13 แต่ในปี2561 ได้ร้อยละ 8.51 และการรณรงค์ตรวจพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ในปี2560 ได้ร้อยละ 93.65 พบเด็กที่สงสัยล่าช้า ร้อยละ 5.37โดยในปี2561 ได้ร้อยละ 96.49 พบล่าช้า ร้อยละ 7.28 ซึ่งการที่ค้นพบเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้เร็วและครอบคลุมจะทำให้เด็กจะได้รับการดูแลเร็วขึ้นเด็กจะได้รับการกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการตามวัยทำให้มีพัฒนาการตามวัยได้จะเห็นได้ว่าโครงการของมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ก่อให้ เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี มีคุณภาพของประชาชน กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่และเกิดการดำเนินงานแบบบูรณาการ โดยใช้กลไกลของภาคีระดับหมู่บ้านในพื้นที่ ทำให้การดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็กมีประสบผลสำเร็จที่ดีในระดับหนึ่ง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทับ จึงได้จัดทำโครงการมหัศจรรย์1,000 วันแรกแห่งชีวิต 2562 (ภาค 2 )โดยครอบคลุมไปถึงการดูแลเฝ้าระวังพัฒนาการตามวัยในเด็กที่อยู่ในศูนย์เด็กเล็กซึ่งอยู่ในความดูแลของครูผู้ดูแลเด็กในแต่ละศูนย์จำนวน 5 แห่งด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสนับสนุน ยกระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย
  2. . เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของภาคีเครือข่าย
  3. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เพื่อสนับสนุน ยกระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย
  2. เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของภาคีเครือข่าย 2.1 ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของภาคีเครือข่ายทุก 3 เดือน
  3. เพื่อพัฒนาส่งเสริมกิจกรรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 12
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.การลงทุนด้านโภชนาการสตรีและเด็กให้ผลตอบแทนกลับคืนมา 50เท่า 2.หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโชนาการดีขณะตั้งครรภ์ 3.ลดปัญหาทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า2,500กรัม 4.ลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสนับสนุน ยกระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย
ตัวชี้วัด : 1.ชุมชน ภาคีเครือข่าย เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินตามแผนงาน มากกว่าร้อยละ 50 ( ประเมินด้วยวิธีการสังเกต) 2.ความร่วมมือ กระแสตอบรับ การจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ พอใช้ขึ้นไป 3.ประเมินความพึงพอใจตามแผนงานโครงการ อยู่ในระดับ ดี- ดีมาก
0.00

 

2 . เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของภาคีเครือข่าย
ตัวชี้วัด : 1. หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80 2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5ครั้งตามเกณฑ์และได้รับการติดตามเยี่ยมขณะตั้งครรภ์ของภาคีเครือข่าย ร้อยละ80 3. มารดาอายุน้อยกว่า20 ปี ไม่มีการตั้งครรภ์ซ้ำร้อยละ 100 4. มารดาคลอดบุตรน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ100
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
ตัวชี้วัด : 1.ครูผู้ดูแลมีความรู้และสามารถตรวจพัฒนาการขั้นพื้นฐานได้ร้อยละ 100 2.พ่อ แม่ ผู้ปกครอง มีความรู้ในการเลี้ยงดูบุตร ร้อยละ 80 3. เกิดกระแสทางสังคมในคลินิกสุขภาพเด็กดีในเรื่อง เพิ่มการบริโภคนม งดขนมขบเคี้ยว /งดการใช้โทรศัพท์ การกระตุ้นพัฒนาการในเด็ก ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 12
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 12
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสนับสนุน ยกระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน  ท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย (2) .  เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของภาคีเครือข่าย (3) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เพื่อสนับสนุน ยกระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน  ท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย (2) เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของภาคีเครือข่าย 2.1  ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของภาคีเครือข่ายทุก 3 เดือน (3) เพื่อพัฒนาส่งเสริมกิจกรรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ มหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต 2562( ภาค 2 ) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5181-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอมร แก้วมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด