กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ พัฒนาระบบบริการสู่คลินิก NCD คุณภาพ
รหัสโครงการ 60-L3327-01-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองใหญ่
วันที่อนุมัติ 26 กันยายน 2016
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2016 - 30 กันยายน 2017
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 13,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุภาภรณ์ ไพชำนาญ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.26,100.074place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ป่วยความดันเบาหวานเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญและให้ความสนใจใส่ใจในสุขภาพของตนเอง

ผู้ป่วยความดันเบาหวานตระหนักและเห็นคุณความสำคัญให้ความสนใจในสุขภาพของตนเอง

2 เพื่อให้ผู้ป่วยความดันเบาหวานทราบปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ เพื่อสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเองเป็นอย่างดี

ผู้ป่วยความดันเบาหวานทราบถึงปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ

3 เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มของผู้ป่วยความดัน-เบาหวาน

ผู้ป่วยความดันเบาหวานได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน

4 เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงในด้านต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงผู้ป่วยความดันเบาหวาน

ผู้ป่วยความดันเบาหวานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยงด้านต่างๆ

5 ผู้ป่วยที่มีภาวะเเทรกซ้อนเเละ/หรือมีปัญหาการควบคุมไม่ดีตามเป้าหมายอย่างต่อเนื่องสุ่มเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเเทรกซ้อนได้ับการส่งต่อที่ถูกต้องเเละเหมาะสม

ประชาชนได้รับการดูเเลที่ถูกต้องเเละสมควร 

0.00
6 เพื่อให้เเกนนำ อสม.ด้านโรคเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจในการดูเเลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

เเกนนำมีความเข้าใจ 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคเเละภาวะเเทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรังเเก่เเกนำ อสม. ผู้ป่วย เเละผู้ดูเเลพร้อมทั้งเเลกเปลี่ยนเรียนรู้
  2. คัดกรองภาวะเเทรกซ้อนเเก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังทางตา ไต เท้า หัวใจเเละหลอดเลือด
  3. ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจเเละหลอดเลือดเเก่ผู้ป่วยเรื้อรัง
  4. จัดกิจกรรมเวทีเเลกเปลี่ยนเรียนรู้เเละประกวด บุคคลต้นเเบบควบคุมน้ำตาลในเลือดเเละบุคคลต้นเเบบควบคุมความดัน
  5. ดำเนินการส่งต่อรายที่มีความผิดปกติหรือภาวะเเทรกซ้อน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมนำ้ตาลในเลือดได้ดีตั้งเเต่ร้อยละ 40 จากปี 59 ให้เพิ่มเป้าหมายร้อยละ 5 จากเดิม
  2. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตั้งเเต่ร้อยละ 50 จากปี 59 ให้เพิ่มเป้าหมายร้อย 5
  3. ร้อยละของผู้ที่ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจหลอดเลือดเเละมีความเสี่ยงสูงมากได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นหรือรับยาเพื่อลดความความเสี่ยง 50
  4. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังลดโอกาสการเกิด ภาวะเเทรกซ้อนทางตา ไต เท้า หัวใจเเละหลอดเลือดลงร้อยละ 25
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 เม.ย. 2017 11:32 น.