กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยความดันเบาหวานเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญและให้ความสนใจใส่ใจในสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยความดันเบาหวานตระหนักและเห็นคุณความสำคัญให้ความสนใจในสุขภาพของตนเอง

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยความดันเบาหวานทราบปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ เพื่อสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเองเป็นอย่างดี
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยความดันเบาหวานทราบถึงปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ

 

3 เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มของผู้ป่วยความดัน-เบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยความดันเบาหวานได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน

 

4 เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงในด้านต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงผู้ป่วยความดันเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยความดันเบาหวานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเสี่ยงด้านต่างๆ

 

5 ผู้ป่วยที่มีภาวะเเทรกซ้อนเเละ/หรือมีปัญหาการควบคุมไม่ดีตามเป้าหมายอย่างต่อเนื่องสุ่มเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเเทรกซ้อนได้ับการส่งต่อที่ถูกต้องเเละเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับการดูเเลที่ถูกต้องเเละสมควร
0.00

 

6 เพื่อให้เเกนนำ อสม.ด้านโรคเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจในการดูเเลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : เเกนนำมีความเข้าใจ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยความดันเบาหวานเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญและให้ความสนใจใส่ใจในสุขภาพของตนเอง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยความดันเบาหวานทราบปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ เพื่อสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเองเป็นอย่างดี (3) เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มของผู้ป่วยความดัน-เบาหวาน (4) เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงในด้านต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงผู้ป่วยความดันเบาหวาน (5) ผู้ป่วยที่มีภาวะเเทรกซ้อนเเละ/หรือมีปัญหาการควบคุมไม่ดีตามเป้าหมายอย่างต่อเนื่องสุ่มเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเเทรกซ้อนได้ับการส่งต่อที่ถูกต้องเเละเหมาะสม  (6) เพื่อให้เเกนนำ อสม.ด้านโรคเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจในการดูเเลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh