กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา


“ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ต้านภัยบุหรี่ โดย อสม.เชี่ยวชาญบุหรี่ ”

ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นส.เจะเส๊าะ ดอเล๊าะ

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ต้านภัยบุหรี่ โดย อสม.เชี่ยวชาญบุหรี่

ที่อยู่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3068-10(2)-12 เลขที่ข้อตกลง 63-L3068-10(2)-12

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ต้านภัยบุหรี่ โดย อสม.เชี่ยวชาญบุหรี่ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ต้านภัยบุหรี่ โดย อสม.เชี่ยวชาญบุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ต้านภัยบุหรี่ โดย อสม.เชี่ยวชาญบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3068-10(2)-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนเวลาอันควรลำดับสองของคนไทย โดยประมาณหนึ่งในหกของชายไทย และหนึ่งในยี่สิบห้าของหญิงไทยที่เสียชีวิตมีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่ ปี๒๕๕๗ ผลสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุตั้งแต่ ๑๕ ปีขึ้นไป โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าจำนวนผู้สูบบุหรี่ปัจจุบัน จำวน ๑๑.๔ ล้านคน คิดอัตราสูบบุหรี่ ๒๐.๗% โดยแยกผู้สูบประจำ จำนวน ๑๐.๐ ล้านคน สูบเป็นครั้งคราวจำนวน ๑.๔ล้านคน เคยสูบ แต่เลิกแล้วจำนวน ๓.๗ล้านคน อัตราสูบบุหรี่ปัจจุบันในเยาวชนกลุ่มอายุ ๑๕-๑๘ปี จำนวน๓๕๓,๘๙๘คน คิดเป็นอัตรา๘.๓% กลุ่มอายุ ๑๙-๒๔ปี จำนวน ๑,๐๕๙,๘๓๙คน คิดอัตรา๑๙.๘% เด็กไทยติดบุหรี่ใหม่เพิ่มปีละ ๒๐๐,๐๐๐คน ติดก่อนอายุ ๑๘ ปี จากสถิติที่ผ่านมาพบว่าร้อยละ๗๐ ของเยาวชนที่ติดบุหรี่จะติดไปตลอดชีวิต ส่วนร้อยละ ๓๐ จะเลิกได้หลังจากติดบุหรี่ไปแล้วเป็นเวลา ๒๐ ปี (ข้อมูลรวบรวมโดย ดร.ศรัณญา เบญจกุล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ชุมชนถือว่าเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของประชาชน คติความเชื่อ ประเพณีท้องถิ่น เป็นศูนย์รวมให้ชาวบ้านกับชุมชนมีความสัมพันธ์กันอย่างเหนียวแน่น และเป็นสัญลักษณ์ทางกายภาพและจิตวิญญาณที่มีเอกลักษณ์เฉพาะแต่ละท้องถิ่น ชุมชนต้นแบบในสร้างสุขภาพ จึงเป็นรูปแบบหนึ่งโดยใช้คนในชุมชนเป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชน ชุมชน โดยมีคณะกรรมการขับเคลื่อนเพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านมีการส่งเสริมสุขภาพที่ดี มีการจัดสภาพสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ และเกิดการมีส่วนร่วมของบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยให้ชุมชนเอื้อโอกาสต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนตำบลบางตาวา จึงดำเนินการโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพต้านภัยบุหรี่ให้ “ชุมชนปลอดบุหรี่” เป็นสถานที่พัฒนาร่างกาย จิตใจ สังคม ประเพณี วัฒนธรรม เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน ครอบครัว และชุมชนด้วยหลักการส่งเสริมสุขภาพ ๕ ร. คือ ร่มรื่นสะอาดปลอดควันบุหรี่ร่มเย็นสงบสดชื่นปลอดโรคร่วมสร้างสุขภาพ ๓ อ. ๒ ส. ร่วมจิตวิญญาณสร้างสุขภาพ และร่วมคิดพัฒนาและตอบสนองนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการขับเคลื่อนโครงการ ๓ ล้าน ๓ ปีเลิกบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในกลุ่มเสี่ยง ลด ละ เลิกสูบบุหรี่ เป็นการ กระจายบริการช่วยเลิกสูบบุหรี่โดย อสม.เชี่ยวชาญเรื่องบุหรี่
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการคณะทำงานชุมชนและบุคลต้นแบบในการขับเคลื่อนโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ต้านภัยบุหรี่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์และคัดเลือกเยาวชนต้นแบบปลอดบุหรี่
  2. กิจกรรม จัดอบรมให้ความรู้บุคลต้นแบบเยาวชน ลด ละ เลิกบุหรี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.มีบุคลต้นแบบ idol เยาวชนสุขภาพดีปลอดบุหรี่ตำบลบางตาวา ๒.ลดปัญหาการใช้สารเสพติดทุกชนิด รวมถึงบุหรี่/สุรา ในวัยรุ่น/วัยเรียน ๓.หยุดสกัดกั้นนักสูบหน้าใหม่หมดสิ้นไป ๔.เยาวชนลด ละ เลิกสูบบุหรี่ในระดับชุมชน และตำบลบางตาวา ๕.การกระจายบริการช่วยเลิกสูบบุหรี่โดย อสม.เชี่ยวชาญด้านบุหรี่ ๖.เกิดภาคีร่วมใจต้านภัยบุหรี่ ๗.ชุมชนสุขภาพดี ปลอดบุหรี่ตำบลบางตาวา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม จัดอบรมให้ความรู้บุคลต้นแบบเยาวชน ลด ละ เลิกบุหรี่

วันที่ 30 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

๑.ประชุมชี้แจงการขับเคลื่อนโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ต้านภัยบุหรี่ องค์กร อสม.บางตาวา ผู้นำชุมชน คณะกรรมการหมู่บ้านและประชาชน ๒.แต่งตั้งคณะกรรมการคณะทำงานชุมชนและบุคคลต้นแบบปลอดบุหรี่ ๓.จัดอบรมให้ความรู้บุคลต้นแบบเยาวชน ลด ละ เลิกบุหรี่     - เรื่องปัญหาการสูบบุหรี่ในเยาวชนตำบลบางตาวา     - เรื่องโทษและโรคที่เกิดจากสูบบุหรี่     - เรื่องอันตรายที่เกิดการควันบุหรี่มือ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.มีบุคลต้นแบบ idol เยาวชนสุขภาพดีปลอดบุหรี่ตำบลบางตาวา ๒.ลดปัญหาการใช้สารเสพติดทุกชนิด รวมถึงบุหรี่/สุรา ในวัยรุ่น/วัยเรียน ๓.หยุดสกัดกั้นนักสูบหน้าใหม่หมดสิ้นไป ๔.เยาวชนลด ละ เลิกสูบบุหรี่ในระดับชุมชน และตำบลบางตาวา ๕.การกระจายบริการช่วยเลิกสูบบุหรี่โดย อสม.เชี่ยวชาญด้านบุหรี่ ๖.เกิดภาคีร่วมใจต้านภัยบุหรี่ ๗.ชุมชนสุขภาพดี ปลอดบุหรี่ตำบลบางตาวา

 

80 0

2. กิจกรรมรณรงค์และคัดเลือกเยาวชนต้นแบบปลอดบุหรี่

วันที่ 30 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมระดมความคิดและแก้ปัญหาการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะและกิจกรรมเดินขบวนพาเหรดต้านยาเสพติดในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ลดปัญหาการใช้สารเสพติดทุกชนิด รวมถึงบุหรี่/สุรา ในวัยรุ่น/วัยเรียน 2.หยุดสกัดกั้นนักสูบหน้าใหม่หมดสิ้นไป 3.เยาวชนลด ละ เลิกสูบบุหรี่ในระดับชุมชน และตำบลบางตาวา 4.การกระจายบริการช่วยเลิกสูบบุหรี่โดย อสม.เชี่ยวชาญด้านบุหรี่ 5.เกิดภาคีร่วมใจต้านภัยบุหรี่ 6.ชุมชนสุขภาพดี ปลอดบุหรี่ตำบลบางตาวา

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนในกลุ่มเสี่ยง ลด ละ เลิกสูบบุหรี่ เป็นการ กระจายบริการช่วยเลิกสูบบุหรี่โดย อสม.เชี่ยวชาญเรื่องบุหรี่
ตัวชี้วัด : มีเยาวชนต้นแบบเป็น idol เยาวชนสุขภาพดีปลอดบุหรี่ตำบลบางตาวา
10.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการคณะทำงานชุมชนและบุคลต้นแบบในการขับเคลื่อนโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ต้านภัยบุหรี่
ตัวชี้วัด : เกิคณะกรรมการคณะทำงานชุมชนและบุคลต้นแบบในการขับเคลื่อนโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ต้านภัยบุหรี่
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในกลุ่มเสี่ยง ลด ละ เลิกสูบบุหรี่ เป็นการ กระจายบริการช่วยเลิกสูบบุหรี่โดย อสม.เชี่ยวชาญเรื่องบุหรี่ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการคณะทำงานชุมชนและบุคลต้นแบบในการขับเคลื่อนโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ต้านภัยบุหรี่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์และคัดเลือกเยาวชนต้นแบบปลอดบุหรี่ (2) กิจกรรม จัดอบรมให้ความรู้บุคลต้นแบบเยาวชน ลด ละ เลิกบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ต้านภัยบุหรี่ โดย อสม.เชี่ยวชาญบุหรี่

รหัสโครงการ 63-L3068-10(2)-12 รหัสสัญญา 63-L3068-10(2)-12 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เกิดความรูั้ใหม่ในชุมชนและเกิดบุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรีในชุมชน

จากมีส่วนร่วมของชุมชนและมีบุคคลต้นแบบเลิกบุหรี่

สร้างเครือข่ายเพื่อนชวนเพื่อนในการเลิกบุหรี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

เกิดนวัตกรรมกดจุดเลิกบุหรีและเกิดความรู้ในการใช้สมุนไพรเพื่อเลิกบุหรี

จากมีส่วนร่วมของชุมชนและการนำสมุนไพรและการกดจุดมาประยุกต์ใช้ในการเลิกบุหรี

สร้างเครือข่ายเพื่อนชวนเพื่อนในการเลิกบุหรีและพัฒนาต่อยอดให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เกิดกระบวนเพื่อนชวนเพื่อนเข้าคลินิกเลิกบุหรี

จากมีส่วนร่วมของชุมชนและมีบุคคลต้นแบบเลิกบุหรี่

สร้างเครือข่ายเพื่อนชวนเพื่อนในการเลิกบุหรี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

การทำงานเป็นทีมและเกิดกระบวนการจัดการเรื่องบุหรีในชุมชน

การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน

สร้างเครือข่ายเพื่อนชวนเพื่อนในการเลิกบุหรี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดภาคเครือข่ายใหม่ๆในชุมชนโดยเยาวชนมีส่วนร่วม

การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน

สร้างเครือข่ายเพื่อนชวนเพื่อนในการเลิกบุหรี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

เกิดคลินิกเลิกในชุมชน

การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน

สร้างเครือข่ายเพื่อนชวนเพื่อนในการเลิกบุหรี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

เกิดการกระตุ้นและการมีส่วนร่วมในครอบครัว

การสร้างมีส่วนร่วมของคนในครอบครัวในการส่งเสริมการเลิกบุหรีในบ้าน

สร้างครอบครัวต้นแบบเลิกบุหรี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การหาแนวทางกรณีอยากบุหรีโดยการออกกำลังกายในชุมชน

การมีส่วนร่วมของชุมชนและครอบครัว

สร้างเครือข่ายในการออกกำลังและพัฒนาต่อยอดในการมีส่วนร่วมในการออกกำลังในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

บุคคลที่เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปรี่ยนการสูบบุหรีน้อยลงและเกิดการเลิกบุหรีในที่สุด

การมีส่วนร่วมของชุมชนและครอบครัว

สร้างครอบครัวต้นแบบเลิกบุหรี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

การนำสมุนไพรมาทดแทนในการอยากบุหรีเพื่อให้หายจากการความเครียดจากการอยากสูบบุหรี

การมีส่วนร่วมของชุมชนและการให้กำลังใจจากครอบครัว

สร้างครอบครัวต้นแบบเลิกบุหรี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

การนำสมุไพรใกล้ตัวในการดำเนินการเลิกบุหรี

การนำสมุนไพรที่อยู่ในชุมชนมาใช้

การดำเนินต่อยอดและส่งเสรืมการปลูกสมุนไพรในครัวเรือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

เกิดความตระหนักและใส่ใจสุขภาพตนเองและครอบครัว

การมีส่วนร่วมของชุมชนและการให้กำลังใจจากครอบครัว

สร้างครอบครัวต้นแบบเลิกบุหรี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดภาคีเครือข่ายในชุมชน

การมีส่วนร่วมของของคนในชุมชน

สร้างเครื่อข่ายและต่อยอดเครือข่ายให้มีมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

เกิดบุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรีและเกิดโครงการต่อเนื่องในการจัดการบุหรีในชุมชน

โครงการต่อเนื่องในปีถัดไป

นำบุคคลมามีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

เกิดกระบวนแลกเปลี่ยนเรียนรุ้ระหว่างบุคคลต้นแบบผู้ที่สนใจเลิกบุหรี

กรส่วนร่วมของเครือข่าย

สร้างชุมชนเลิกบุหรี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

มีความตระหนักด้านสุขภาพของตนเองและครอบครัว

การมีสุขภาพที่ดีขึ้นหลักจากการเลิกบุหรี

การส่งเสริมกลุ่มรักษ์สุขภาพในชุมชนเพื่อเป็นต้นแบบในการเลิกชุมชนต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

การใส่ใจกลุ่มหรือบุคคลคนรอบข้างให้ห่างไกลจากภัยบุหรี

การส่วนร่วมและการดำเนินชีวิตประจำวันตามแบบวิถีใหม่

การสร้างเครือและประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนใส่ใจสุขภาพตนเองและบุคคลรอบข้างจากภัยบุหรี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ลดรายจ่ายการสูบบุหรี่น้อยลงหรือเลิกบุหรี่ในครัวเรือนและชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

เกิดการดุแลเอาใจใส่ของกลุ่มเพื่อนชวนเพื่อนเลิกบุหรี

เครือข่ายในชุมชน

การสร้างภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ต้านภัยบุหรี่ โดย อสม.เชี่ยวชาญบุหรี่ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3068-10(2)-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นส.เจะเส๊าะ ดอเล๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด