กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการจัดทำแผนการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านสวน
รหัสโครงการ 1/63
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัดเทศบาลตำบลบ้านสวน
วันที่อนุมัติ 14 พฤศจิกายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 14 พฤศจิกายน 2562 - 27 พฤศจิกายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ธันวาคม 2562
งบประมาณ 2,750.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางปาจรีย์ สุขแก้ว
พี่เลี้ยงโครงการ นางสมทรง ประวงศ์
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 26 พ.ย. 2562 26 พ.ย. 2562 2,750.00
รวมงบประมาณ 2,750.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่พระราชบัญญัติประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.25๔5 มาตรา 18(9) และมาตรา 47        ได้กำหนดให้สำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นประกอบมติการประชุมคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๗/๒๕๖๑ เห็นชอบให้ปรับปรุงหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ซึ่งหมายถึงกองทุนสุขภาพตำบล โดยมีวัตถุประสงค์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรวงชีวิตตลอดจนส่งเสริมให้ ประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในพื้นที่มีสวัสดิการชุมชนรองรับและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง โดยการบริการจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่ในระดับท้องถิ่นเป็น คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นโยบายดังกล่าวยังสอดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจบนหลักแนวคิดบทบาทของรัฐส่วนกลางในการดำเนินการเอง การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคโดยประชาชนและชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วม ถือเป็นแนวทางหลักที่มีความสำคัญในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขซึ่งได้มีการดำเนินการและพัฒนาการมาอย่างยาวนานกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพโดยชุมชนเพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงเน้นการทำกิจกรรม โดยความคิดริเริ่มของประชาชนและชุมชนเอง
กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านสวนจึงเกิดขึ้นด้วยความร่วมมือของเครือข่ายองค์กรชุมชนกลุ่มและประชาชนเป้าหมาย การบริหารจัดการกองทุน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่แข็งแรง มีความสำคัญต่อการดำเนินงานของกองทุนฯ เริ่มตั้งแต่การวางแผนการดำเนินงานซึ่งเป็นตัวชี้ว่ากองทุนฯ จะเดินไปในทางทิศใดดังนั้นถ้าการวางแผนการดำเนินงานให้มีกิจกรรม / โครงการต่าง ๆ ที่ดี จะทำให้การดำเนินงานของกองทุนฯ  มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อจัดทำแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมในการพัฒนาท้องถิ่นด้านการสาธารณสุขทั้ง 5 ประเภท ตามที่สำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

๒.๑ ใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง หมู่บ้าน/ชุมชนเป็นศูนย์กลาง และประชาชนเป็นเจ้าของ ๒.๒ รวมพลังทุกภาคส่วนของสังคม เพื่อการสุขภาพที่แข็งแรงของประชาชน

0.00
2 ๒.๓ บูรณาการกระบวนการจัดทำแผนและงบประมาณเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพแบบองค์รวม ๒.๔ ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อการส่งเสริมสุขภาพสู่ความยั่งยืน

๒.๓ บูรณาการกระบวนการจัดทำแผนและงบประมาณเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพแบบองค์รวม ๒.๔ ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อการส่งเสริมสุขภาพสู่ความยั่งยืน

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 พ.ย. 2562 13:02 น.