กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ
รหัสโครงการ 63-L3066-02-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมรักษ์สุขภาพ ตำบลท่ากำชำ
วันที่อนุมัติ 8 มกราคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 28 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายกูจิ ตูแวบือซา
พี่เลี้ยงโครงการ นายนาเซร์ หวังจิ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 23 ม.ค. 2563 23 ม.ค. 2563 15,000.00
รวมงบประมาณ 15,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน
90.00
2 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม
80.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติในการดำเนินชีวิตเพื่อนำไปสู่ความพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของคนไทย สังคมไทย เพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์ เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าไปพร้อมกับความสมดุลและพร้อมรับต่อความเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านวัฒนธรรม ถ้าใช้หลักความพอเพียงเป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติในการดำเนินชีวิต ก็จะสามารถอยู่ได้อย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ปรับตัวและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงได้
เพื่อการใช้ชีวิตที่พอเพียงตามแนวพระราชดำริไปอย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรมและเกิดการร่วมใจกัน รวมทั้งได้บริโภคอาหารและผักที่ปลูกเอง และปลอดสารพิษ ชมรมรักษ์สุขภาพ ตำบลท่ากำชำ จึงได้จัดทำโครงการผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ชีวิตที่พอเพียงและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคเอง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น

90.00 80.00
2 เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น

80.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 80 15,000.00 2 15,000.00
28 ม.ค. 63 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย 40 5,500.00 5,500.00
29 ม.ค. 63 สาธิตการปลูกผักแก่กลุ่มเป้าหมาย 40 9,500.00 9,500.00
  1. มีการประชุมชี้แจงการดำเนินงานและเสนอโครงการขออนุมัติโครงการ
  2. ประชาสัมพันธ์ไปยังกลุ่มเป้าหมาย
  3. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ   3.1. จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
        - ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคเอง รวมถึงคุณประโยชน์ ต่าง ๆ ของผักแต่ละชนิดและอันตรายจากผักที่มีสารพิษ   3.2. สาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ และการเลี้ยงปลาให้แก่ผู้เข้ารับการอบรม
  4. ประเมินผลติดตามโครงการ
  5. สรุปรายงานโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
  2. ประชาชนรับประทานอาหารที่ปลอดภัยถูกต้องตามหลักโภชนาการไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 พ.ย. 2562 16:43 น.