กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ ชุมชนเข้มแข็ง ห่างไกลยาเสพติด ปี 63 ”

ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีc

หัวหน้าโครงการ
สภาเยาวชนบ้านปะกาลือสง

ชื่อโครงการ ชุมชนเข้มแข็ง ห่างไกลยาเสพติด ปี 63

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีc จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3065-2-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนเข้มแข็ง ห่างไกลยาเสพติด ปี 63 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีc

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนเข้มแข็ง ห่างไกลยาเสพติด ปี 63



บทคัดย่อ

โครงการ " ชุมชนเข้มแข็ง ห่างไกลยาเสพติด ปี 63 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีc รหัสโครงการ 63-L3065-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสังคมเราเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ที่เต็มไปด้วยนวัตกรรมต่างๆถือว่าเป็นเรื่องที่ดีในการอำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิตในด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นด้านการติดต่อสื่อสาร ด้านการจับจ่ายใช้สอย เป็นต้น ภายใต้สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ในปัจจุบันกลับพบว่าคนเรามีการติดต่อพบปะกันน้อยลง ไม่ค่อยมีกิจกรรมทำรวมกันเพื่อกระชับความสัมพันธ์กันอีกด้านหนึ่งกลับพบว่าแต่ละชุมชนมักจะมีคนที่ติดยาเสพติดเป็นจำนวนไม่น้อย โดยเฉพาะในหมู่ของเยาวชนที่เป็นอนาคตของชาติหรือเป็นความหวังของครอบครัว ด้วยเหตุนี้ ทางสภาเยาวชนบ้านปะกาลือสงได้จัดทำโครงการชุมชนเข้มแข็ง ห่างไกลยาเสพติด เพื่อให้คนในชุมชนได้มีกิจกรรมทำร่วมกัน กระชับความสัมพันธ์กัน โดยผ่านการเล่นกีฬาต่างๆไม่ว่าจะเป็นกีฬาสากล กีฬาพื้นบ้านต่างๆ กิจกรรมเหล่านี้ทำให้คนในชุมชนไม่ว่าจะเป็นเยาวชน เด็ก สตรี หรือผู้ใหญ่มีสุขภาพแข็งแรง มีภูมิคุ้มกันโรคต่างๆ อีกทั้งยังเป็นการใช้เวลาว่างหันมาขยับกาย เคลื่อนไหวทางกายกายให้มีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่แข็งแรง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไป ได้มีกิจกรรมทำร่วมกันสามารถกระชับความสัมพันธ์กันผ่านการเล่นกีฬาต่างๆ
  2. คนในชุมชนได้มีการรวมตัวกัน เพื่อขยับกายและกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกายมากขึ้น
  3. เพื่อให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติดทุกประเภท

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน
  2. ส่งเสริมการขยับ เคลื่อนไหวทางกาย
  3. พัฒนาองค์ความรู้
  4. ถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีผู้เข้าร่วมโครงการที่เป็นเยาวชน เด็ก และผู้สูงอายุ
  2. คนในชุมชนมีกิจกรรมทำร่วมกันสามารถกระชับความสัมพันธ์กันผ่านการเล่นกีฬาต่างๆ.
  3. เด็ก เยาวชน และผู้สูงอายุ มีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่แข็งแรงใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์.
  4. คนในชุมชนหันมาออกกำลังกายมากขึ้นห่างไกลจากโรคภัยต่างๆ.

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน

วันที่ 30 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเครือข่ายสร้างสุขภาพในพื้นที่
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  25 บาท x 20 คน เป็นเงิน  500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีผู้เข้าร่วมประชุม
  • เกิดการมีส่วนร่วม

 

20 0

2. ส่งเสริมการขยับ เคลื่อนไหวทางกาย

วันที่ 31 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกายในยามเย็น
              - มีการจัดกิจกรรมเพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ การออกกำลังกาย การฝึกหัดเรียนรู้ทักษะการเล่นกีฬาประเภทต่างๆ และเป็นตัวอย่างที่ดีแก่รุ่นน้องต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
  • จัดซื้ออุปกรณ์ช่วยในการกิจกรรมขยับกาย

 

0 0

3. พัฒนาองค์ความรู้

วันที่ 3 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมหัวข้อเรื่อง “ชุมชนเข้มแข็งห่างไกลยาเสพติด”     การประชาคมของหมู่บ้านเพื่อสร้างความเข้าใจ ข้อตกลงร่วม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เกิดการพัฒนาศักยภาพด้านองค์ความรู้
  • สร้างการมีส่วนร่วม

 

50 0

4. ถอดบทเรียน

วันที่ 30 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมทีมงาน สรุปโครงการ จัดทำรูปเล่มรายงานกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรายงานสรุปส่งกองทุนฯ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน สรุป จากการดำเนินงานโครงการ ตามวัตถุประสงค์โครงการดังนี้ 1.1 เพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไป ได้มีกิจกรรมทำร่วมกันสามารถกระชับความสัมพันธ์กันผ่านการเล่นกีฬาต่างๆ. 1.2 เพื่อให้คนในชุมชนได้มีการรวมตัวกัน เพื่อขยับกายและกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกายมากขึ้น

เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์โครงการจึงได้ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานดังนี้ 1. ประชุมเครือข่ายสร้างสุขภาพในพื้นที่ ประกอบด้วย   - อสม.
  - ตัวแทนสภาเยาวชน   - ตัวแทนผู้นำชุมชน   โดยจัดประชุมในวันที่ 30 มีนาคม 2563 ณ ศูนย์จริธรรม หรือศูนย์ตาดีกา หมู่ที่ 6 บ้านปะกาลือสง โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 22 คน เพื่อ   - สร้างความเข้าใจตรงกันเกี่ยวกับการดำเนินงาน แผนงาน กิจกรรมโครงการ   - สร้างการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาของชุมชน   - การสร้างและเปิดโอกาสให้เยาวชนในพื้นที่ใช้เวลาว่างให้เกดประโยช์
    2. จัดอบรมหัวข้อเรื่อง “ชุมชนเข้มแข็งห่างไกลยาเสพติด” การประชาคมของหมู่บ้านเพื่อสร้างความเข้าใจ ข้อตกลงร่วม   - จัดอบรมกลุ่มแกนนำเยาวชนที่อยู่ในวัยเรียน ระดับมัธยมศึกษา ในพื้นที่ จำนวน 50 คน ในวันที่ 3 สิงหาคม 2563 เพื่อให้เยาวชนได้มีความรู้ มีภูมิคุ้มกันในการดำรงชีวิตที่ต้องก้าวให้ทันกับเหตุการณ์ การพัฒนาด้านสื่อและเทคโนโลยี ให้ทันกับกระแสการบริโภคด้านต่างๆ การปฏิบัติตัวเพื่อเป็นเยาวชนที่ดี เป็นที่รักของบิดา มารดา ผู้ปกครอง การสร้างภูมิคุ้มกันต่อภัยยาเสพติด และการเฝ้าระวังป้องกันภัยยาเสพติดที่เข้ามาในพื้นที่ จากการอบรมพบว่า เยาวชนมีความตั้งใจ ในการเรียนรู้ มีความรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 100 และมีกิจกรรมทั้งภาคกลางวันและกลางคืน
    3. จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกายในยามเย็น
      - มีการจัดกิจกรรมเพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ การออกกำลังกาย การฝึกหัดเรียนรู้ทักษะการเล่นกีฬาประเภทต่างๆ และเป็นตัวอย่างที่ดีแก่รุ่นน้องต่อไป
      - จากการประเมินพบว่าเยาวชนได้ให้ความสนใจเป็นอย่างยิ่ง มีความสนุกสนาน และมีทักษะด้านกีฬาต่างๆที่ดีขึ้น       - มีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 วัน





  1. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ /• บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ............................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........100............................................... คน


  2. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ...............12,000........... บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ...............12,000........... บาท  คิดเป็นร้อยละ ......100.......... งบประมาณเหลือส่งคืนอบต. ...........................0........... บาท  คิดเป็นร้อยละ .............0.........
        ตามรายละเอียดดังนี้

  3. ประชุมเครือข่ายสร้างสุขภาพในพื้นที่
              - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 20 คน      เป็นเงิน  500 บาท
    1. จัดอบรมหัวข้อเรื่อง “ชุมชนเข้มแข็งห่างไกลยาเสพติด” การประชาคมของหมู่บ้านเพื่อสร้างความเข้าใจ ข้อตกลงร่วม
                - ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท x 50 คน            เป็นเงิน  3,000 บาท           - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35 บาท x 2 มื้อ x 50 คน  เป็นเงิน  3,500 บาท
                - ค่าวิทยากร 500 บาท x 4 ชม.                เป็นเงิน  2,000 บาท           - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35 บาท x 2 มื้อ x 50 คน  เป็นเงิน  3,500 บาท
                - ค่าวิทยากร 500 บาท x 4 ชม.                เป็นเงิน  2,000 บาท       3. จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกายในยามเช้าหรือเย็น           - ค่าวัสดุ อุปกรณ์ (ลูกฟุตบอล ลูกวอลเล่ย์ ลูกตะกร้อ ลูกแชร์บอล อื่นๆ) เป็นเงิน  3,000 บาท
                                                  รวมเป็นเงิน 12,000 บาท
  4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน • ไม่มี     /• มี ปัญหา/อุปสรรค

- จากสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า-19 ส่งผลทำให้เกิดความล่าช้าในการจัดกิจกรรม
- ประชาชนในพื้นที่เห็นปากท้องเป็นเรื่องสำคัญกว่าสุขภาพ ดังนั้นไม่ค่อยเห็นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพ








แนวทางการแก้ไข - การจัดกิจกรรม เช่น การประชุมต้องหาเวลาที่ประชาชนในพื้นที่ว่างจากการทำงาน เช่น หลายคนหยุดงานในวันศุกร์ หรืออาจเป็นช่วงตอนกลางคืน
- หมู่บ้านหรือชุมชนจะเกิดความเข้มแข็งได้ก็ต่อเมื่อมีผู้นำที่มีจิตอาสา จิตสาธารณะ มีความสามัคคีเป็นหนึ่ง ระหว่างผู้นำท้องที่ ผู้นำศาสนา ผู้นำท้องถิ่น ชมรมเป็นตัวผลักดันที่สำคัญเพื่อให้ผู้นำฝ่ายต่างๆในหมู่บ้านเกิดการขับเคลื่อน


                    (ลงชื่อ)...........................................ผู้รายงาน                   (นายอดุลย์  ดอเลาะ)     ประธานสภาเยาวชนบ้านาปะกาลือสง           7 ตุลาคม 2563

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไป ได้มีกิจกรรมทำร่วมกันสามารถกระชับความสัมพันธ์กันผ่านการเล่นกีฬาต่างๆ
ตัวชี้วัด : 80% ของเด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไป มีกิจกรรมทำร่วมกันสามารถกระชับความสัมพันธ์กันผ่านเล่นกีฬาต่างๆและมีสุขภาพแข็งแรง
100.00 100.00 100.00

 

2 คนในชุมชนได้มีการรวมตัวกัน เพื่อขยับกายและกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกายมากขึ้น
ตัวชี้วัด : 70%คนในชุมชนมีการออกกำลังกายทุกเช้าและเย็น
100.00 100.00 100.00

 

3 เพื่อให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติดทุกประเภท
ตัวชี้วัด : 80%เยาชนมีร่างกายแข็งแรง มีภูมิคุ้มกันยาเสพติด
100.00 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 100
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไป ได้มีกิจกรรมทำร่วมกันสามารถกระชับความสัมพันธ์กันผ่านการเล่นกีฬาต่างๆ (2) คนในชุมชนได้มีการรวมตัวกัน เพื่อขยับกายและกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกายมากขึ้น (3) เพื่อให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติดทุกประเภท

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน (2) ส่งเสริมการขยับ เคลื่อนไหวทางกาย (3) พัฒนาองค์ความรู้ (4) ถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ชุมชนเข้มแข็ง ห่างไกลยาเสพติด ปี 63

รหัสโครงการ 63-L3065-2-15 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ชุมชนเข้มแข็ง ห่างไกลยาเสพติด ปี 63 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3065-2-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สภาเยาวชนบ้านปะกาลือสง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด