โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและทักษะในการป้องกันเด็กจมน้ำ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและทักษะในการป้องกันเด็กจมน้ำ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ ”
ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุกัญญา ดาแมรอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและทักษะในการป้องกันเด็กจมน้ำ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ
ที่อยู่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-50115-3-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและทักษะในการป้องกันเด็กจมน้ำ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและทักษะในการป้องกันเด็กจมน้ำ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก 2 – 4 ปี (2) ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และถ่ายทอดความรู้แก่บุคคลอื่นได้ (3) ผู้ปกครอง และชุมชน มีความตื่นตัว ตระหนักถึงเรื่องการเสียชีวิตจาการจมน้ำ (4) ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก เด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำ รู้จักช่วยเหลือตนเองเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครอง เกี่ยวกับการช่วยเหลือเด็กจมน้ำตามหลักการเบื้องต้น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้แจ้งซักซ้อมแนวทางการป้องกันเด็กจมน้ำในเด็กปฐมวัย โดยขอให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบรรจุเรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไว้ในกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็ก รวมทั้งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็กจัดการสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ปลอดภัย จึงควรให้ความรู้กับเด็กเล็กและผู้ปกครองเพื่อป้องกันเด็กเล็กจมน้ำ ซึ่งเมื่อเด็กโตขึ้นจะได้จดจำวิธีการเอาตัวรอดจากการจมน้ำได้ และเพื่อเป็นการป้องกันเด็กจมน้ำในเด็กปฐมวัย ซึ่งจะนำมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการการจัดแผนเพื่อส่งเสริมการดำเนินงานตามนโยบายของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ดังนั้น จึงต้องจัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการและทักษะในการป้องกันเด็กจมน้ำ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ภายใต้หลักการสอนให้ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็กรู้จักการช่วยเหลือคนตกน้ำภายใต้หลักการ “ตะโกน โยน ยื่น” ที่สอนให้เด็กตะโกนขอความช่วยเหลือเมื่อตกอยู่ในอันตราย หรือมีเพื่อนจมน้ำ และการสอนให้โยนหรือยื่นอุปกรณ์ต่างๆเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ตกน้ำ นอกจากนั้น การส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้รับการส่งเสริมพัฒนาการในด้านต่างๆนั้น ถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ซึ่งต้องทำควบคู่กับการส่งเสริมสมรรถนะของเด็กปฐมวัย ว่าเด็ก ในแต่ละช่วงอายุสามารถทำอะไรได้บ้าง พร้อมจัดกระบวนการเพื่อส่งเสริมให้เด็กแต่ละช่วงอายุได้รับการพัฒนาสมรรถนะที่เหมาะสมตามวัย และสอดคล้องกับธรรมชาติของเด็กโดยมุ่งเน้นการพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม ทั้งความสามารถในการเคลื่อนไหว และสุขภาวะทางกาย พัฒนาการด้านสังคม ด้านอารมณ์ ด้านความคิดและสติปัญญา ด้านภาษา ด้านจริยธรรม รวมถึงด้านการสร้างสรรค์ของเด็ก ซึ่งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กถือว่าจะต้องให้ความรู้ในเรื่องสมรรถนะเด็กแก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง ให้มีความรู้อย่างถูกต้อง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ และทักษะการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำ จึงได้จัดทำโครงการฯ เพื่อให้เด็กปฐมวัยและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ และมีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือเด็กจมน้ำและการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นได้ และเพื่อให้เด็กและผู้ปกครองมีทักษะเพื่อเอาชีวิตรอดได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก 2 – 4 ปี
- ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และถ่ายทอดความรู้แก่บุคคลอื่นได้
- ผู้ปกครอง และชุมชน มีความตื่นตัว ตระหนักถึงเรื่องการเสียชีวิตจาการจมน้ำ
- ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก เด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำ รู้จักช่วยเหลือตนเองเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้แก่ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครอง เกี่ยวกับการช่วยเหลือเด็กจมน้ำตามหลักการเบื้องต้น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
49
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็กผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก 2 – 4 ปี
- ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็กผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก 2 – 4 ปี และถ่ายทอดความรู้แก่บุคคลอื่นได้
- ผู้ปกครอง และชุมชน มีความตื่นตัว ตระหนักถึงเรื่องการเสียชีวิตจาการจมน้ำ
- เด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำ และว่ายน้ำเป็นทุกคน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้แก่ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครอง เกี่ยวกับการช่วยเหลือเด็กจมน้ำตามหลักการเบื้องต้น
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564กิจกรรมที่ทำ
๑. เขียนโครงการขออนุมัติเพื่อจัดทำโครงการ
๒. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพื่อจัดทำโครงการ
๓. กิจกรรมให้ความรู้การป้องกันโรคมือเท้าปาก
๔. สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครอง จำนวน 49 คน สามารถช่วยเหลือเด็กจมน้ำตามหลักการเบื้องต้น
49
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก 2 – 4 ปี
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยทุกคนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัย
0.00
5.00
5.00
2
ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และถ่ายทอดความรู้แก่บุคคลอื่นได้
ตัวชี้วัด : ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง สามารถถ่ายทอดความรู้ให้บุคคลอื่นได้
0.00
10.00
10.00
3
ผู้ปกครอง และชุมชน มีความตื่นตัว ตระหนักถึงเรื่องการเสียชีวิตจาการจมน้ำ
ตัวชี้วัด : เด็ก 2-4 ปี ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทุกคนมีทักษะในการป้องกันการจมน้ำ
0.00
10.00
10.00
4
ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก เด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำ รู้จักช่วยเหลือตนเองเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้น
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีทักษะในการเอาตัวรอดจากเหตุการณ์
0.00
10.00
10.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
49
49
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
49
49
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก 2 – 4 ปี (2) ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และถ่ายทอดความรู้แก่บุคคลอื่นได้ (3) ผู้ปกครอง และชุมชน มีความตื่นตัว ตระหนักถึงเรื่องการเสียชีวิตจาการจมน้ำ (4) ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก เด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำ รู้จักช่วยเหลือตนเองเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครอง เกี่ยวกับการช่วยเหลือเด็กจมน้ำตามหลักการเบื้องต้น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและทักษะในการป้องกันเด็กจมน้ำ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-50115-3-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสุกัญญา ดาแมรอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและทักษะในการป้องกันเด็กจมน้ำ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ ”
ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุกัญญา ดาแมรอ
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-50115-3-11 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและทักษะในการป้องกันเด็กจมน้ำ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและทักษะในการป้องกันเด็กจมน้ำ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก 2 – 4 ปี (2) ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และถ่ายทอดความรู้แก่บุคคลอื่นได้ (3) ผู้ปกครอง และชุมชน มีความตื่นตัว ตระหนักถึงเรื่องการเสียชีวิตจาการจมน้ำ (4) ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก เด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำ รู้จักช่วยเหลือตนเองเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครอง เกี่ยวกับการช่วยเหลือเด็กจมน้ำตามหลักการเบื้องต้น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้แจ้งซักซ้อมแนวทางการป้องกันเด็กจมน้ำในเด็กปฐมวัย โดยขอให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบรรจุเรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไว้ในกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็ก รวมทั้งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็กจัดการสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ปลอดภัย จึงควรให้ความรู้กับเด็กเล็กและผู้ปกครองเพื่อป้องกันเด็กเล็กจมน้ำ ซึ่งเมื่อเด็กโตขึ้นจะได้จดจำวิธีการเอาตัวรอดจากการจมน้ำได้ และเพื่อเป็นการป้องกันเด็กจมน้ำในเด็กปฐมวัย ซึ่งจะนำมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการการจัดแผนเพื่อส่งเสริมการดำเนินงานตามนโยบายของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ดังนั้น จึงต้องจัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการและทักษะในการป้องกันเด็กจมน้ำ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ภายใต้หลักการสอนให้ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็กรู้จักการช่วยเหลือคนตกน้ำภายใต้หลักการ “ตะโกน โยน ยื่น” ที่สอนให้เด็กตะโกนขอความช่วยเหลือเมื่อตกอยู่ในอันตราย หรือมีเพื่อนจมน้ำ และการสอนให้โยนหรือยื่นอุปกรณ์ต่างๆเพื่อช่วยเหลือผู้ที่ตกน้ำ นอกจากนั้น การส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้รับการส่งเสริมพัฒนาการในด้านต่างๆนั้น ถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ซึ่งต้องทำควบคู่กับการส่งเสริมสมรรถนะของเด็กปฐมวัย ว่าเด็ก ในแต่ละช่วงอายุสามารถทำอะไรได้บ้าง พร้อมจัดกระบวนการเพื่อส่งเสริมให้เด็กแต่ละช่วงอายุได้รับการพัฒนาสมรรถนะที่เหมาะสมตามวัย และสอดคล้องกับธรรมชาติของเด็กโดยมุ่งเน้นการพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม ทั้งความสามารถในการเคลื่อนไหว และสุขภาวะทางกาย พัฒนาการด้านสังคม ด้านอารมณ์ ด้านความคิดและสติปัญญา ด้านภาษา ด้านจริยธรรม รวมถึงด้านการสร้างสรรค์ของเด็ก ซึ่งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กถือว่าจะต้องให้ความรู้ในเรื่องสมรรถนะเด็กแก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง ให้มีความรู้อย่างถูกต้อง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ และทักษะการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำ จึงได้จัดทำโครงการฯ เพื่อให้เด็กปฐมวัยและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ และมีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือเด็กจมน้ำและการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้นได้ และเพื่อให้เด็กและผู้ปกครองมีทักษะเพื่อเอาชีวิตรอดได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก 2 – 4 ปี
- ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และถ่ายทอดความรู้แก่บุคคลอื่นได้
- ผู้ปกครอง และชุมชน มีความตื่นตัว ตระหนักถึงเรื่องการเสียชีวิตจาการจมน้ำ
- ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก เด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำ รู้จักช่วยเหลือตนเองเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้แก่ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครอง เกี่ยวกับการช่วยเหลือเด็กจมน้ำตามหลักการเบื้องต้น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 49 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็กผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก 2 – 4 ปี
- ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็กผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก 2 – 4 ปี และถ่ายทอดความรู้แก่บุคคลอื่นได้
- ผู้ปกครอง และชุมชน มีความตื่นตัว ตระหนักถึงเรื่องการเสียชีวิตจาการจมน้ำ
- เด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำ และว่ายน้ำเป็นทุกคน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้แก่ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครอง เกี่ยวกับการช่วยเหลือเด็กจมน้ำตามหลักการเบื้องต้น |
||
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564กิจกรรมที่ทำ๑. เขียนโครงการขออนุมัติเพื่อจัดทำโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครอง จำนวน 49 คน สามารถช่วยเหลือเด็กจมน้ำตามหลักการเบื้องต้น
|
49 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก 2 – 4 ปี ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยทุกคนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัย |
0.00 | 5.00 | 5.00 |
|
2 | ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และถ่ายทอดความรู้แก่บุคคลอื่นได้ ตัวชี้วัด : ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง สามารถถ่ายทอดความรู้ให้บุคคลอื่นได้ |
0.00 | 10.00 | 10.00 |
|
3 | ผู้ปกครอง และชุมชน มีความตื่นตัว ตระหนักถึงเรื่องการเสียชีวิตจาการจมน้ำ ตัวชี้วัด : เด็ก 2-4 ปี ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทุกคนมีทักษะในการป้องกันการจมน้ำ |
0.00 | 10.00 | 10.00 |
|
4 | ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก เด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำ รู้จักช่วยเหลือตนเองเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้น ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีทักษะในการเอาตัวรอดจากเหตุการณ์ |
0.00 | 10.00 | 10.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 49 | 49 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 49 | 49 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก 2 – 4 ปี (2) ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และถ่ายทอดความรู้แก่บุคคลอื่นได้ (3) ผู้ปกครอง และชุมชน มีความตื่นตัว ตระหนักถึงเรื่องการเสียชีวิตจาการจมน้ำ (4) ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก เด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำ รู้จักช่วยเหลือตนเองเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครอง เกี่ยวกับการช่วยเหลือเด็กจมน้ำตามหลักการเบื้องต้น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กและทักษะในการป้องกันเด็กจมน้ำ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-50115-3-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสุกัญญา ดาแมรอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......