โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในกลุ่มยางพาราตำบลบางโกระ
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในกลุ่มยางพาราตำบลบางโกระ |
รหัสโครงการ | 63-L2982-2-4 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อาสาสมัครอาชีวะอนามัย (อส.อช) |
วันที่อนุมัติ | 20 พฤศจิกายน 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤศจิกายน 2562 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2563 |
งบประมาณ | 50,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวรัตติกา ดอเลาะกาเดร์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอับดุลก้อเดช โต๊ะยะลา |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบางโกระ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ (คน) | 0.00 | ||
2 | ร้อยละของแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ | 30.00 | ||
3 | จำนวนมาตราการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน | 0.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ประชาชนส่วนใหญ่ในพื้นที่ ตำบลบางโกระส่วนใหญ่ประกอบอาชีพกรีดยางพาราซึ่งส่วน ใหญ่เป็นแรงงานนอกระบบที่มีรายได้น้อยแต่ทำงานที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ จากท่าทางการทำงานที่มีความเสี่ยงต่อการปวดหลัง กล้ามเนื้ออักเสบ และปัญหาอีกหลาย ๆ ด้าน ซึ่งปัญหาเหล่านี้ยังขาดการดูแลและให้ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการประกอบอาชีพกรีดยางพารา ดังนั้น กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบางเขาจึงได้จัดทำกิจกรรม โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในกลุ่มยางพาราตำบลบางโกระ ได้มีความตระหนักถึงความสำคัญของความเสี่ยงต่อสุขภาพ อันเป็นเหตุทำให้ร่างกายได้รับบาดเจ็บจากการประอาชีพ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ เพิ่มขึ้น(คน) |
0.00 | 50.00 |
2 | เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ ร้อยละของแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ ลดลง |
30.00 | 20.00 |
3 | เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน มีจำนวนมาตราการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน เพิ่มขึ้น |
0.00 | 5.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
10 ก.ย. 63 | อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย(อสอช.) ตำบางโกระ | 50 | 10,500.00 | ✔ | 9,450.00 | |
29 ก.ย. 63 - 30 ก.ย. 62 | ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม และพัฒนามาตรการ ข้อตกลง ข้อเสนอนโยบายในการส่งเสริมป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ | 50 | 22,500.00 | ✔ | 20,920.00 | |
29 ก.ย. 63 | อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ | 50 | 10,000.00 | ✔ | 13,466.00 | |
1 ต.ค. 63 | ประชุมถอดบทเรียนและพัฒนานวัตกรรมการลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา | 20 | 3,000.00 | ✔ | 3,000.00 | |
28 ธ.ค. 63 | สำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา | 50 | 4,000.00 | ✔ | 3,664.00 | |
รวม | 220 | 50,000.00 | 5 | 50,500.00 |
ระ ผลการดำเนินงาน
จัดกิจกรรม 5 กิจกรรม
กิจกรรมที่1 อบรมปฎิบัติการเพื่อจัดตั้งกลุ่ม อาสาสมัครอาชีวอนามัย ประชุมให้ความรู้และให้มีการป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในกลุ่มแรงงานนอกระบบ
กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลความเสี่ยง
กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฎิบัตการ
กิจกรรมที่ 4 อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากการประกอบอาชีพ
กิจกรรมที่ 5 ประชุมถอดบทเรียน
มีกลุ่มอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ กลุ่มแรงงานมีมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ และ โรคจากการทำงาน ได้รับความรู้ข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลบางโกระ 1. เกิดกลุ่มอาสาสมัครอาชีวอนามัย ตำบลบางโกระ ที่มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับอาชีวอนามัยเชิงรุก การประเมินความเสี่ยง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการใช้งานแอพลิเคชั่นในการสำรวจข้อมูล 2. เกิดรูปแบบการจัดการความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลบางโกระ 3. เกิดมาตรการ ข้อตกลง ข้อเสนอนโยบายในการส่งเสริมป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ 4. กลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลบางโกระเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ 5. เกิดบทเรียนจากการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา 6. เกิดนวัตกรรมการลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา
- เกิดฐานข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลบางโกระ
- เกิดกลุ่มอาสาสมัครอาชีวอนามัย ตำบลบางโกระ ที่มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับอาชีวอนามัยเชิงรุก การประเมินความเสี่ยง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการใช้งานแอพลิเคชั่นในการสำรวจข้อมูล
- เกิดรูปแบบการจัดการความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลบางโกระ
- เกิดมาตรการ ข้อตกลง ข้อเสนอนโยบายในการส่งเสริมป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
- กลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลบางโกระเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
- เกิดบทเรียนจากการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา
- เกิดนวัตกรรมการลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 พ.ย. 2562 13:09 น.