กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ประชุมถอดบทเรียนและพัฒนานวัตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบการอาชีพสวนยางพารา26 มกราคม 2564
26
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลคอลอตันหยง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมที่ 3 ประชุมถอดบทเรียนและพัฒนานวัตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบการอาชีพสวนยางพารา มีค่าใช้จ่ายดังนี้ - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 36 คน x 50 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
- ค่าอาหารว่าง 25 บาท x 2 มื้อ จำนวน 36 คน  เป็นเงิน 1,800 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1 เกิดกลุ่มอาสาสมัครอาชีวอนามัย ตำบลคอลอตันหยง ที่มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับอาชีวอนามัยเชิงรุก การประเมินความเสี่ยง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการใช้งานแอพลิเคชั่นในการสำรวจข้อมูล 2 เกิดฐานข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลคอลอตันหยง 3 เกิดรูปแบบการจัดการความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลคอลอตันหยง 4 เกิดมาตรการ ข้อตกลง ข้อเสนอนโยบายในการส่งเสริมป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ 5 กลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลคอลอตันหยงเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ 6 เกิดบทเรียนจากการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา 7 เกิดนวัตกรรมการลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา

ประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ26 มกราคม 2564
26
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลคอลอตันหยง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ มีค่าใช้จ่ายดังนี้
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน x 50 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
- ค่าอาหารว่าง 25 บาท x 2 มื้อ x    30 คน เป็นเงิน 1,500 บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน 400    บาท
- ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 30 ชุด ชุดละ 20 บาท      เป็นเงิน 600  บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1 เกิดกลุ่มอาสาสมัครอาชีวอนามัย ตำบลคอลอตันหยง ที่มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับอาชีวอนามัยเชิงรุก การประเมินความเสี่ยง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการใช้งานแอพลิเคชั่นในการสำรวจข้อมูล 2 เกิดฐานข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลคอลอตันหยง 3 เกิดรูปแบบการจัดการความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลคอลอตันหยง 4 เกิดมาตรการ ข้อตกลง ข้อเสนอนโยบายในการส่งเสริมป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ 5 กลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลคอลอตันหยงเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ 6 เกิดบทเรียนจากการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา 7 เกิดนวัตกรรมการลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา

สำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราโดยอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ตำบลคอลอตันหยง26 มกราคม 2564
26
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลคอลอตันหยง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมที่ 1 สำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราโดยอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ตำบลคอลอตันหยง
มีค่าใช้จ่ายดังนี้
          - ค่าตอบแทนผู้สำรวจข้อมูล จำนวน 6 คน คนละ 500 บาท  เป็นเงิน 3,000 บาท
          - ค่าจัดทำเอกสารรายงานการสำรวจข้อมูล                        เป็นเงิน 300  บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1 เกิดกลุ่มอาสาสมัครอาชีวอนามัย ตำบลคอลอตันหยง ที่มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับอาชีวอนามัยเชิงรุก การประเมินความเสี่ยง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการใช้งานแอพลิเคชั่นในการสำรวจข้อมูล 2 เกิดฐานข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพและระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลคอลอตันหยง 3 เกิดรูปแบบการจัดการความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลคอลอตันหยง 4 เกิดมาตรการ ข้อตกลง ข้อเสนอนโยบายในการส่งเสริมป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ 5 กลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในพื้นที่ตำบลคอลอตันหยงเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ 6 เกิดบทเรียนจากการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา 7 เกิดนวัตกรรมการลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา