กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2563 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุภา นวลดุก นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ปฏิบัติราชการแทน ผอ.รพ.สต.บ้านควน 1

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5307-1-01 เลขที่ข้อตกลง 28/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2563 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5307-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,778.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 2 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นจำนวนมาก และเป็นปัญหาสุขภาพระดับต้นๆของประเทศไทย สาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคดังกล่าว เนื่องมาจากแบบแผนชีวิตที่เปลี่ยนไป มีความเครียดมากขึ้นมีนิสัยการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง สูบบุหรี่ดื่มสุราและขาดการออกกำลังกายสิ่งต่างๆเหล่านี้ ส่งผลให้เกิดโรคจากพฤติกรรมซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่หายมีภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายต่อชีวิต หรือทำให้เกิดการพิการได้ อย่างไรก็ตามโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคที่สามารถป้องกันและลดความรุนแรงของโรคลงได้ ถ้าได้รับการวินิจฉัย ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วต่อเนื่องดังนั้นการค้นหา คัดกรองจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อให้เรารู้เท่าทันภาวะสุขภาพตนเอง มีการจัดการสุขภาพโดยการควบคุมอาหาร หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเกิดโรคเรื้อรังดังกล่าว
จากข้อมูลสถิติณ วันที่ 18 ตุลาคม 2562 กองยุทธศาสตร์และแผนงานสำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข จะเห็นได้ว่าจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ในจังหวัดสตูล ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2559 – 2561มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ดังข้อมูลต่อไปนี้ ปี พ.ศ.2559 - 2561มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 4,607 ,4,381 ,และ 5,128 คน ตามลำดับ และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 2,786 , 2,714 และ 3,219 คน ตามลำดับ จากการรวบรวมข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รับบริการณ รพ.สต.ตำบลบ้านควน พบว่า จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ยิ่งเพิ่มขึ้นทุกๆปีจากข้อมูลที่รวบรวม ณ วันที่ 30 ตุลาคม 2562มีผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงอย่างเดียว จำนวน219 คน โรคเบาหวานอย่างเดียว จำนวน 24 คน และโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 80 คน และจากการรวบรวมข้อมูลการขึ้นทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ ย้อนหลัง3ปีตั้งแต่ปี พ.ศ.2560 – 2562 มีดังนี้ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 28,20 และ 17 คน ตามลำดับ ผู้ป่วยโรคเบาหวานอย่างเดียวจำนวน 2,1 และ 3 ตามลำดับ และผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,1 และ1 ตามลำดับจากข้อมูลดังกล่าว พบว่าผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรายใหม่มีจำนวนลดลงในส่วนของโรคความดันโลหิตสูง และเพิ่มขึ้น ในส่วนของโรคเบาหวานโรคเรื้อรังดังกล่าวถ้าประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นรับรู้ถึงปัญหาสุขภาพของตนเองเร็วทำให้กลุ่มเสี่ยง ที่มีโอกาสกลายเป็นกลุ่มป่วย ได้รับการส่งเสริมความรู้ติดตามภาวะสุขภาพรวดเร็วขึ้น ดังนั้น รพ.สต.ตำบลบ้านควนจึงได้จัดทำโครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2563 ขึ้น เพื่อค้นหากลุ่มสงสัยป่วยให้ได้รับการส่งต่อได้รับการดูแลติดตามภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่องโดยเจ้าหน้าที่ รพ.สต. และค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง ดูแล เฝ้าระวัง ติดตามภาวะสุขภาพเบื้องต้นพร้อมทั้งส่งเสริมความรู้ 3อ.2ส. คืนข้อมูลกลับให้เจ้าตัวทราบภาวะสุขภาพของตนเองสร้างความตระหนักใส่ใจดูแลสุขภาพทำอย่างไรให้ห่างไกลจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับตนเอง เมื่อประชาชนมีสุขภาพที่ดี ส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังรายใหม่ลดลงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน
  3. เพื่อติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ไม่ให้กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้บริการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป
  2. ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง
  3. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป 2,022

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเรื้อรังทุกคน
  2. ผู้ป่วยรายใหม่ ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์และได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
  3. กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังได้รับการติดตามภาวะสุขภาพ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพ ส่งผลให้กลุ่มเสี่ยงไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ขึ้นไป ของประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
90.71 95.00

 

2 เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ขึ้นไปของประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน
89.78 95.00

 

3 เพื่อติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ไม่ให้กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังไม่กลายเป็นกลุ่มป่วย
1.01 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2022
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป 2,022

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน (3) เพื่อติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ไม่ให้กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้บริการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป (2) ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง (3) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2563 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5307-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุภา นวลดุก นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ปฏิบัติราชการแทน ผอ.รพ.สต.บ้านควน 1 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด