กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกัน ควบคุม โรคมือ เท้า ปาก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทะเลน้อย ประจำปี 2563
รหัสโครงการ 63 - L3319 - 02 - 01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทะเลน้อย
วันที่อนุมัติ 13 พฤศจิกายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 10,515.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายกฤษ ศาสตรโรภาส
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 149 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคมือเท้าปาก ในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ

 

0.00
2 2.เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู มีความรู้เกี่ยวกับโรคมือเท้าปาก และการส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยที่ช่วยป้องกันโรคมือ เท้าปาก ได้

 

0.00
3 3.เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้ปกครอง ครู ตระหนักในการดูแลเด็กปฐมวัยให้ปลอดภัยจากโรคมือเท้าปาก

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 10,515.00 0 0.00
??/??/???? ๑. การจัดอบรมให้ความรู้แก่ครูและผู้ปกครอง 0 4,155.00 -
??/??/???? 2. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สำหรับทำความสะอาด/ฆ่าเชื้อโรค 0 6,360.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ปัญหาโรคติดต่อ ๒. ผู้ปกครองและครูมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคมือเท้าปาก ๓. ผู้ปกครองและครูสามารถดูแลสุขอนามัยของเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกต้อง ๔. เด็กปฐมวัยจะมีอัตราการป่วยด้วยโรคมือเท้าปากลดลงและมีสุขภาพที่ดี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 พ.ย. 2562 00:00 น.