กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเครือข่ายผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านโคกโตนด
วันที่อนุมัติ 30 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 13,850.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.บ้านโคกโตนด
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวนาซีฮัฮ โตะลู
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.744,101.222place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 91 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประเทศ ส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรและเป็นสาเหตุการตาย 10 อันดับแรก โรคเรื้อรังที่พบมาก คือ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง รวมถึงโรคมะเร็ง
ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากผู้ดูแลผู้ป่วยขาดความรู้ หมดกำลังใจ ท้อแท้ ขาดความเข้าใจ หรือชุมชนขาดแนวทางในการให้ความช่วยเหลือฟื้นฟู และจากข้อมูลพบว่า ผู้ป่วยเรื้อรัง ที่ถูกส่งตัวกลับมารักษาตัวต่อที่บ้านจากโรงพยาบาล จึงมักเกิดปัญหาว่ามีวิธีการดูแลที่ไม่ถูกต้อง ถ้าหากมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนและครอบครัวสามารถดูแลตนเองได้และมีระบบการเฝ้าระวัง ดูแลปัญหาสุขภาพของผู้ป่วยเรื้อรัง เพื่อลดอันตรายหรือเพื่อลดความพิการที่อาจเกิดขึ้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกโตนด มีจำนวนหมู่บ้านรับผิดชอบ 3 หมู่บ้าน จำนวนประชากรคน มีบุคลากรสาธารณสุข 4คน เป็นนักวิชาการสาธารณสุข 2 คน พยาบาลวิชาชีพ 2 คน ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย 1 คนอสม. 29 คน
ข้อมูลผู้ป่วยเรื้อรังมีดังนี้ ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 11 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน 68 คนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 12 คน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เข้าใจแนวคิดและวิธีการประยุกต์การส่งเสริมสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้าน

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้ดี ร้อยละ 50 ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมน้ำตาล ร้อยละ 40

2 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสมรรถนะผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้าน

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้ดี ร้อยละ 50 ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมน้ำตาล ร้อยละ 40

3 เพื่อส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังจากโรงพยาบาลสู่ชุมชน

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้ดี ร้อยละ 50 ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมน้ำตาล ร้อยละ 40

4 เพื่อประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้าน

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้ดี ร้อยละ 50 ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมน้ำตาล ร้อยละ 40

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้เข้าใจแนวคิดและวิธีการประยุกต์การส่งเสริมสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้าน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสมรรถนะผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้าน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังจากโรงพยาบาลสู่ชุมชน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : เพื่อประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้าน

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. ประชุมคณะกรรมการ เพื่อวางแผนการทำงานและเตรียมความพร้อมก่อนดำเนิน โครงการ
  2. จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ
  3. ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง และประชุมชี้แจงการดำเนินการจัดทำโครงการ
  4. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังแก่ผู้ดูแลผู้ป่วย
  5. สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ดูแลกลุ่มป่วยมีความรู้ ความเข้าใจในแนวคิดการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้าน : แนวคิดและการนำไปใช้
  2. ผู้ดูแลกลุ่มป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสมรรถนะผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้าน
  3. ประยุกต์รูปแบบการดำเนินงานไปสู่การแก้ไขปัญหาอื่น ๆ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 เม.ย. 2560 12:54 น.