กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพ ของตัวเองมากขึ้น ไม่ปล่อยปละละเลย ไม่มองข้ามอาการผิดปกติที่แสดงออกมาแม้เพียงเล็กน้อย เช่นการเกิดอาการวิงเวียนบ่อย หน้ามืด เพลีย ซึ่งเป็นอาการบ่งชี้ของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 % ของประชาชนกลุ่มเสี่ยง เข้ารับการคัดกรอง และหากพบว่าเป็นโรคสามารถเข้าสู่ระบบการรักษาได้ทันเวลา
1.00 1.00

ร้อยละ 90 % ของประชาชนกลุ่มเสี่ยง เข้ารับการคัดกรอง และหากพบว่าเป็นโรคสามารถเข้าสู่ระบบการรักษาได้ทันเวลา

2 2.ประชาชนกลุ่มที่เป็นโรค ผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการ ได้รับการบริการตรวจคัดกรองก่อนไปพบแพทย์เพื่อรับยา
ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนกลุ่มที่เป็นโรค ผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการ ได้รับความสะดวกในการตรวจก่อนไปรับยาที่โรงพยาบาล
1.00 1.00

ประชาชนกลุ่มที่เป็นโรค ผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการ ได้รับความสะดวกในการตรวจก่อนไปรับยาที่โรงพยาบาล

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1240 1056
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80 17
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,160 1,039
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพ ของตัวเองมากขึ้น ไม่ปล่อยปละละเลย ไม่มองข้ามอาการผิดปกติที่แสดงออกมาแม้เพียงเล็กน้อย เช่นการเกิดอาการวิงเวียนบ่อย หน้ามืด เพลีย ซึ่งเป็นอาการบ่งชี้ของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) 2.ประชาชนกลุ่มที่เป็นโรค ผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการ ได้รับการบริการตรวจคัดกรองก่อนไปพบแพทย์เพื่อรับยา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อสม.ประชุมวางแผนเพื่อกำหนดการลงพื้นที่ในการคัดกรอง (2) 2.ทำการลงพื้นที่คัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่ไม่เคยเป็นโรค ทั้ง 3 ชุมชน ของหมู่ที่ 2 บ้านด่านนอก (3) 3.เก็บตกการตรวจคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่ได้รับการคัดกรอง ให้ได้รับการคัดกรอง 100 %  โดยการลงคัดกรองตามบ้าน (4) 4.ตรวจคัดกรอง หาค่าความดันโลหิตสูง และค่าน้ำตาลในเลือดให้กับกลุ่มประชาชนที่เป็นโรค ก่อนไปรับยาที่โรงพยาบาล (5) 5.บริการตรวจ คัดกรอง ให้กับผู้ป่วยพิการ ผู้ป่วยติดเตียง ถึงบ้าน  (เบิกวัสดุอุปกรณ์ เข็ม สำลี แอลกอฮอล์ และ แถบตรวจน้ำตาล (test strips) ที่รพ.สต.ศรีประชาเขต )

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh