กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน


“ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ”

ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางณิชาภัทร กาญจพันธุ์

ชื่อโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5240-03-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5240-03-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิต ถ้าบุคคลมีสุขภาพดี จะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยจะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดตั้งแต่วัยเด็ก การเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กวัยประถมศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับจุดหมายของหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช2551 ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนรู้ให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้พร้อมที่จะทำประโยชน์ให้สังคม ตามบทบาทและหน้าที่ของตนในฐานะพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิตทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีสุขสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจสามารถครองชีวิตอย่างเป็นสุข ด้วยเหตุนี้ทางโรงเรียนวัดห้วยลาด ซึ่งเห็นความสำคัญในเรื่องนี้มาโดยตลอด จึงร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน ร่วมส่งเสริมสุขภาพ และทันตสุขภาพตนเองเพื่อให้นักเรียน มีสุขภาพแข็งแรง มีคุณภาพชีวิตที่ดีพร้อมที่จะเติบโตเป็นพลเมืองดีของโลกต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
  2. เพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติ 10 ประการ
  3. เพื่อให้ผู้เรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
  4. เพื่อให้ผู้เรียนป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดและหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัยอุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ
  5. เพื่อให้ผู้เรียนมีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและให้เกียรติผู้อื่น
  6. เพื่อให้ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
    กลุ่มวัยทำงาน 10
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ออกกำลังกายสม่ำเสมอ 2.ผู้เรียนปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติ 10 ประการ 3.ผู้เรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ 4.ผู้เรียนป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติด และหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ 5.ผู้เรียนมีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและให้เกียรติผู้อื่่น 6.ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.1กิจกรรมกายบริหารยามเช้า นักเรียนมีความสุขกับการออกกำลังกาย และสามารถหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงโรค อุบัติภัย สิ่งเสพติดและเข้าสังคมอย่างมีความสุข 1.2 กิจกรรมเด็กไทยฟันดี นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟัน รู้จักการรักษาสุขภาพฟันและช่องปาก และนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประวัน 1.3 กิจกรรมรู้ทันโรคภัยใกล้ตัว นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับโรคภัยที่อยู่ใกล้ตัว รู้จักการดูแลระมัดระวัง ป้องกันโรคต่างๆที่อาจเกิดขึ้นกับตนเองและคนรอบข้าง
    1.4 กิจกรรมอาหารสะอาด ปลอดภัย นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับอาหารที่สะอาด ปลอดภัย เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
    1.5 กิจกรรมคัดแยกขยะ ผู้บริหาร ครู บุคลากรและนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ มีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ และร่วมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม นักเรียนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดของห้องเรียน และสุขาของโรงเรียน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีความรอบรู้ และสามารถนำหลักแนวคิดตามทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ การพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและประเทศชาติ การเรียนการสอนโดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
    ตัวชี้วัด : ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงออกกำลังสม่ำเสมอ
    85.00 100.00

     

    2 เพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติ 10 ประการ
    ตัวชี้วัด : ผู้เรียนปฎิบัติตนตามหลักสุขบัญญิติ 10 ประการ
    85.00 100.00

     

    3 เพื่อให้ผู้เรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด : ผู้เรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพกายตามเกณฑ์
    90.00 100.00

     

    4 เพื่อให้ผู้เรียนป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดและหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัยอุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ
    ตัวชี้วัด : ผู้เรียนป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติด และหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรงโรคภัย อุบัติเหตุและปัญหาทางเพศ
    95.00 100.00

     

    5 เพื่อให้ผู้เรียนมีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและให้เกียรติผู้อื่น
    ตัวชี้วัด : ผู้เรียนมีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและให้เกียรติผู้อื่น
    95.00 100.00

     

    6 เพื่อให้ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น
    ตัวชี้วัด : ผู้เรียนมีความมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อ ครู และผู้อื่น
    95.00 100.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 60
    กลุ่มวัยทำงาน 10 10
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ออกกำลังกายสม่ำเสมอ (2) เพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติ 10 ประการ (3) เพื่อให้ผู้เรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ (4) เพื่อให้ผู้เรียนป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดและหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัยอุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ (5) เพื่อให้ผู้เรียนมีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมและให้เกียรติผู้อื่น (6) เพื่อให้ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 63-L5240-03-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางณิชาภัทร กาญจพันธุ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด