กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาร้านค้า/อาหารปลอดโรค/ผู้บริโภคปลอดภัย
รหัสโครงการ L2981-03-63-019
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ นางอารียะ เพ็งมูซอ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่ 2
วันที่อนุมัติ 14 พฤศจิกายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2562 - 29 กุมภาพันธ์ 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 35,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอารียะ เพ็งมูซอ
พี่เลี้ยงโครงการ นายอับดุลก้อเดช โตีะยะลา
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.689,101.142place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ธ.ค. 2562 29 ก.พ. 2563 35,600.00
รวมงบประมาณ 35,600.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 160 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การคุ้มคครองผู้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพเป็นการปกป้องคุ้มครองสุขภาพของประชาชนให้มีความปลออดภัยและเสรมสร้างความมั่นใจใ้กับประชาชนในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพซึ่งในปัจจุบันนี้มีออกมาอย่างแพร่หลาย กระจายอยู่ทั่วไปทุกท้องที่ โดยเฉพาะในร้านค้าขายของชำในหมู่บ้าน ผลิตภัณฑ์บางอย่างไม่มีคุภาพมาตรฐานหรือไมม่มีการรับรองใดๆ จากคณะกรรมการอาหารและยา จากการปฏิบัติงานของอ.ส.ม. ในการตรวจสอบฉลากอาหารในร้านขายของชำ พบว่าผู้ประกอบการเจ้าของร้านขายของชำส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยมีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อาหารและยาที่วางจำหน่ายในร้าน เช่น การพบการขายยาอันตรายในร้านค้าหลายร้านหรือขายอาหารแปรรูปที่ไม่มีฉลากอาหาร ฉลากมีไม่ครบถ้วน เนื่องจากผู้ประกอบการไมม่มีความรู้ในเรื่องเหล่านี้
ด้งนั้นเพื่อให้มีการพัฒนาความรู้และให้มีการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์อย่างถูกต้องมีความต่อเนื่องของผู้บริโภคทุกคน แต่สิ่งที่ยัังคงเป็นปัญหาที่ต้องมีการปรับปรุบงพัฒนาผู้บริโภคในการเลือกซื้ออาหารที่วางจำหน่ายในร้านค้า รถเร่ แผงลอย บ่อยครั้งที่ผู้บริโภคต้องเสี่ยงกับโรคอาหารเป็นพิษ ซึ่งเกิดจากกระบวนการการเตรียม ปรุง การเก็บรักษาไม่ถูกสุขลักษณะของผู้ประกอบการที่ขาดความรู้ความเข้าใจ ฉะนั้นผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพส่วนใหญ่ที่จำเป็นใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น อาหารและยา เครื่องสำอาง วัตถุอันตรายในครัวเรือน ผลิตภัณฑ์เหล่านี้หากใช้ไม่ถูกต้องอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของคนพื้นที่ตำบลนาประดู่ จากจำนวนประชากรทั้งหมด 6074 คน พบว่าโดยพฤติกรรมผู้บริโภคของตำบลนาประดู่ส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ในการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์และปลอดภัย เพื่อลด ขจัด และป้องกันปัญหาที่เกิดจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเป็นข้อมูลพัฒนาศักยภาพความรู้ให้กับผู้ประกอบการในการเฝ้าระวังความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ร้อยละของผู้ประกอบการมีความรู้ในการเฝ้าระวังความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น

0.00
2 เพื่อให้ผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความรู้ในการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพมาจำหน่าย

ร้อยละผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความรู้ในการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพมาจำหน่ายมากขึ้น

0.00
3 เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ สามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

ร้อยละคนในชุมชนมีความรู้ สามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยมากขึ้น

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 ธ.ค. 62 - 29 ก.พ. 63 โครงการพัฒนาร้านค้า/อาหารปลอดภัย//ผู้บริโภคปลอดภัย 160 35,600.00 35,600.00
รวม 160 35,600.00 1 35,600.00

1.ตั้งคณะกรรมทำงาน 2.ประชาสัมพันธ์โครงการในที่ทราบ 3.ดำเนินดครงการให้ความรู้ เรื่อง พัฒนาร้านค้า/อาหารปลอดภัย/ผู้บริโภคปลอดภัย 4.หลังอบรมแต่งตั้งคณะกรรมการ อสม.ค้มครอง 2 คนเพื่อออกตรวจร้านค้าของชำและประเมินงานของแต่ละชุมชน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ประกอบการของร้านชำมีศักยภาพ และตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภคในการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำมากขึ้น 2. เพื่อประชาชนได้รับความปลอดภัย จากการบริโภคสุขภาพเป็นการลดความโรค ลดความเจ็บป่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักาาพยาบาล ส่งเสริมให้คนในชุมชน มีสุขภาพแข็งแรง 3.เพื่อให้ผู้ประกอบการได้รับข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคในร้านค้าของชำให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ธ.ค. 2562 15:45 น.