กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี


“ โครงการเยาวชนต้นกล้าตาสับปะรด สู่การใช้ยาอย่างปลอดภัยในผู้สูงอายุของชุมชนบ้านทุ่งนารี ”

ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางยุพิน มณีสุวรรณ นางสมพร ขวัญคง นส.รัชนี ศิริมุสิกะ นายนิพนธ์ คำแก้ว นางศิชารัชต์ แสงจง

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนต้นกล้าตาสับปะรด สู่การใช้ยาอย่างปลอดภัยในผู้สูงอายุของชุมชนบ้านทุ่งนารี

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3341-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนต้นกล้าตาสับปะรด สู่การใช้ยาอย่างปลอดภัยในผู้สูงอายุของชุมชนบ้านทุ่งนารี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนต้นกล้าตาสับปะรด สู่การใช้ยาอย่างปลอดภัยในผู้สูงอายุของชุมชนบ้านทุ่งนารี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนต้นกล้าตาสับปะรด สู่การใช้ยาอย่างปลอดภัยในผู้สูงอายุของชุมชนบ้านทุ่งนารี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3341-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันทั่วโลกกำลังเผชิญกับการเพิ่มขึ้นของสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุรวมถึงประเทศไทยในปี พ.ศ. 2560 มีจำนวนผู้สูงอายุจำนวน 11.3 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 16.7 ของประชากรทั้งหมดซึ่งถือว่าประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ระบบสาธารณสุขไทยต้องเตรียมการเพื่อดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเนื่องจากผู้สูงอายุมีความเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคไตเรื้อรังเป็นต้น ซึ่งจำเป็นต้องใช้ยาอย่างต่อเนื่องผู้สูงอายุหรือญาติมักหาซื้อยา ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและผลิตภัณฑ์สมุนไพรอื่นๆ มาใช้เองโดยไม่จำเป็นซึ่งอาจนำไปสู่การใช้ยาร่วมกันหลายชนิดก่อให้เกิดปัญหาจากการใช้ตามมาได้เช่นอันตรกิริยาระหว่างยากับยา ยากับสมุนไพรก่อให้เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยานอกจากนี้ผู้สูงอายุมักมีข้อจำกัดในการเรียนรู้และการดูแลตนเองด้านสุขภาพจากความจำ สายตา และการได้ยินบกพร่อง ส่งผลให้เกิดการใช้ยาไม่ถูกวิธี ขาดความร่วมมือในการใช้ยา รวมทั้งการเก็บรักษายาในสภาวะที่ไม่เหมาะสมเสี่ยงต่อการใช้ยาที่เสื่อมสภาพซึ่งจะส่งผลให้ประสิทธิภาพในการรักษาลดลงได้อีกด้วย ปีงบประมาณ 2562 รพ.สต.บ้านทุ่งนารี มีผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 174 ราย ป่วยด้วยโรคเบาหวาน  จำนวน 68ราย  พบข้อมูลผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังใช้ยาไม่ถูกต้อง จำนวน 16ราย, เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา(ADR)  จำนวน  2 ราย
ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคชุมชนบ้านทุ่งนารี  ได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมให้เยาวชนแกนนำในชุมชนบ้านทุ่งนารี  มีความรู้เรื่องการในผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ตลอดจนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลการใช้ยาของบุคคลในครัวเรือน เช่น พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ของตัวเอง จึงได้จัดทำโครงการเยาวชนต้นกล้าตาสับปะรดสู่การใช้ยาอย่างปลอดภัยในผู้สูงอายุของชุมชนบ้านทุ่งนารีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้แกนนำเยาวชนต้นกล้าตาสับปะรด บ้านทุ่งนารีมีความรู้เรื่องการใช้เครื่องมือในการสำรวจปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  2. เพื่อสำรวจสถานการณ์ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนบ้านทุ่งนารี
  3. เพื่อแก้ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนบ้านทุ่งนารี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมอบรมแกนนำเยาวชนต้นกล้าตาสับปะรด เรื่องการใช้เครื่องมือในการสำรวจปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  2. ประชุมคืนข้อมูล ถอดบทเรียน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่าง แกนนำเยาวชนต้นกล้าตาสับปะรด ร่วมกับผู้นำชุมชน เรื่องปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  3. จัดทำสื่อ “ความรู้คู่ยา” ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 40 ราย
  4. สำรวจยาเหลือใช้ในครัวเรือนผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
  5. ติดตามประเมินผลการใช้สื่อ “ความรู้คู่ยา”ในครัวเรือนที่มีปัญหาการใช้ยา จำนวน40 ครัวเรือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) เยาวชนแกนนำด้านสุขภาพของชุมชนบ้านทุ่งนารี มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุ 2) มีเครือข่ายเฝ้าระวังการใช้ยาในผู้สูงอายุโดยชุมชนมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน 3) ผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความปลอดภัยด้านการใช้ยา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้แกนนำเยาวชนต้นกล้าตาสับปะรด บ้านทุ่งนารีมีความรู้เรื่องการใช้เครื่องมือในการสำรวจปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : เยาวชนต้นกล้าตาสับปะรด บ้านทุ่งนารีมีความรู้เรื่อง การใช้เครื่องมือในการสำรวจปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังร้อยละ 100
1.00

 

2 เพื่อสำรวจสถานการณ์ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนบ้านทุ่งนารี
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการสำรวจสถานการณ์ปัญหาการใช้ยา ร้อยละ 100
1.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนบ้านทุ่งนารี
ตัวชี้วัด : ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนบ้านทุ่งนารี ได้รับการแก้ไข ร้อยละ 70
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำเยาวชนต้นกล้าตาสับปะรด บ้านทุ่งนารีมีความรู้เรื่องการใช้เครื่องมือในการสำรวจปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (2) เพื่อสำรวจสถานการณ์ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนบ้านทุ่งนารี (3) เพื่อแก้ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนบ้านทุ่งนารี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมอบรมแกนนำเยาวชนต้นกล้าตาสับปะรด  เรื่องการใช้เครื่องมือในการสำรวจปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (2) ประชุมคืนข้อมูล ถอดบทเรียน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่าง แกนนำเยาวชนต้นกล้าตาสับปะรด ร่วมกับผู้นำชุมชน เรื่องปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (3) จัดทำสื่อ “ความรู้คู่ยา” ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง  จำนวน 40 ราย (4) สำรวจยาเหลือใช้ในครัวเรือนผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง (5) ติดตามประเมินผลการใช้สื่อ  “ความรู้คู่ยา”ในครัวเรือนที่มีปัญหาการใช้ยา จำนวน40 ครัวเรือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยาวชนต้นกล้าตาสับปะรด สู่การใช้ยาอย่างปลอดภัยในผู้สูงอายุของชุมชนบ้านทุ่งนารี จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3341-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางยุพิน มณีสุวรรณ นางสมพร ขวัญคง นส.รัชนี ศิริมุสิกะ นายนิพนธ์ คำแก้ว นางศิชารัชต์ แสงจง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด