กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ทอม


“ โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) หมู่ที่ 4 ตำบลแม่ทอม ประจำปี 2563 ”

ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจิรภา ทำทอง

ชื่อโครงการ โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) หมู่ที่ 4 ตำบลแม่ทอม ประจำปี 2563

ที่อยู่ ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5212-2-07 เลขที่ข้อตกลง 7/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) หมู่ที่ 4 ตำบลแม่ทอม ประจำปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ทอม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) หมู่ที่ 4 ตำบลแม่ทอม ประจำปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) หมู่ที่ 4 ตำบลแม่ทอม ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5212-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ทอม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้นำการสาธารณสุขมูลฐานมาเป็นกลวิธีหลัก และกำหนดเป็นนโยบายสำคัญในการพัฒนางานสาธารณสุขของประเทศ บนหลักการสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพตนเองและเพื่อนบ้าน ในรูปแบบอาสาสมัครสาธารณสุขหรือ อสม. เพื่อเป็นแกนนำด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนในหมู่บ้านชุมชน มาเป็นระยะเวลาครบ 30ปี ด้วยมุ่งหวังให้ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเองครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกและศรัทธาในการพัฒนาอันเป็นการแสดงให้เห็นถึงรูปธรรมการสร้างสุขภาพนำการซ่อมสุขภาพอย่างยั่งยืนที่แท้จริงกระทรวงสาธารณสุขได้มีการพัฒนาศักยภาพ อสม.อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ทั้งภาวะวิกฤติและภาวะปกติ ในหลากหลายรูปแบบที่เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทของพื้นที่ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร สาธารณสุข (อสม.) ให้สามารถดูแลและมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพของประชาชนในชุมชน ด้วยการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพ ให้บริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและเชื่อมประสานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในชุมชน เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน จึงมีนโยบายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติ งานของ อสม.ตลอดจนพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของชุมชน โดยมีเป้าหมายที่จะดำเนินการอบรมฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพ อสม. ในทุกหมู่บ้านให้เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในชุมชน เพื่อนำไปถ่ายทอดความรู้ ให้บริการและประสานงานกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพชมรม อสม.หมู่ที่ 4ตำบลแม่ทอม จึงได้จัดทำโครงการอบรมฟื้นฟูความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม. สามารถนำไปสู่การปฏิบัติ และแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. 2 .เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ได้รับการพัฒนาทักษะการให้บริการสาธารณสุขที่จำเป็น คัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สามารถดำเนินงานสุขภาพชุมชนในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ได้อย่างเข้มแข็ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม อบรม ให้ความรู้อสม. และฝึกปฎิบัติ
  2. กิจกรรมให้บริการประชาชนในการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และให้บริการสาธารณสุขที่จำเป็น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 7
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 271
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม. มีความรู้และทักษะด้านการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่และนำความรู้ไปปฏิบัติได้อย่างเข้มแข็ง และถูกต้อง

    2.ประชาชนได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังโรคเบื้องต้น ลดภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม อบรม ให้ความรู้อสม. และฝึกปฎิบัติ

วันที่ 3 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริการสาธารณสุข และการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริการสาธารณสุขและการป้องกันโรค และสามารถสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการตรวจคัดกรองเบื้องต้นในหมู่บ้านได้

 

7 0

2. กิจกรรมให้บริการประชาชนในการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และให้บริการสาธารณสุขที่จำเป็น

วันที่ 14 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

การให้บริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเบื้องต้น และทำให้ทราบข้อมูลประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ได้รับการตรวจคัดกรองได้รู้จักวิธีการปฏิบัติต้นเบื้องต้นในการป้องกันโรค

 

271 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ ความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การบริการสาธารณสุขที่จำเป็น ตามตารางการอบรม และการฝึกการใช้เครื่องวัดความดันโลหิต การเจาะน้ำตาลในเลือดปลายนิ้วที่ถูกต้อง รวมทั้งการทดสอบคุณภาพ มาตรฐานของเครื่องด้วยตนเอง และวิธีการดูแลรักษาเครื่องมือที่ถูกต้อง เพื่อยืดอายุการใช้งานและมีสามารถตรวจ อ่านค่า ของผู้ป่วยได้แม่นยำ ผู้เข้ารับการอบรม ทั้งสิ้น  7 คน พบว่ามีความรู้ในเรื่องที่อบรม เพิ่มขึ้นและสามารถนำไปปฎิบัติได้ร้อยละ 100

  2. อสม.ให้บริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในพื้นที่ที่รับผิดชอบ โดยคัดกรองในกลุ่มเป้าหมาย ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป(ที่ไม่ใช่ผู้ป่วย) ผลการคัดกรองดังนี้

  คัดกรองโรคเบาหวาน ในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (ที่ไม่ใช่ผู้ป่วย) คิดเป็นร้อยละ 98.03

  คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (ที่ไม่ใช่ผู้ป่วย) คิดเป็นร้อยละ 98.62

3อสม.ให้บริการตรวจวัดความดันโลหิตที่บ้าน ให้กับประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจากการคัดกรองโรค รวมทั้งการแนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเป็นกลุ่มป่วยต่อไป

4.อสม.ให้คำแนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การปฎิบัติตัวให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ได้อย่างถูกต้อง

5.จัดหาเครื่องวัดความดันโลหิต จำนวน 2 เครื่อง เครื่องตรวจน้ำตาลในเลือดปลายนิ้ว จำนวน 1 เครื่อง เข็มเจาะปลายนิ้ว เพื่อใช้ในการดำเนินงานและทดแทนเครื่องที่ชำรุด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม. สามารถนำไปสู่การปฏิบัติ และแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : อสม.ทุกคนมีความรู้และทักษะด้านวิชาการตามหลักสูตรการอบรม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน พ.ศ.2550
7.00 7.00

 

2 2 .เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ได้รับการพัฒนาทักษะการให้บริการสาธารณสุขที่จำเป็น คัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สามารถดำเนินงานสุขภาพชุมชนในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ได้อย่างเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : อสม.ทุกคน สามารถให้บริการสาธารณสุขที่จำเป็นคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง พร้อมทั้งแจ้งผลการคัดกรองและแนะนำการปฎิบัติตัวแก่ประชาชนได้อย่างถูกต้อง
50.00 271.00 37.00

จำนวน 37 คนมาจากคนที่อายุ35ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรอง จากทั้งหมด 134คนในส่วนเป้าหมายที่เหลือได้มีการประสัมพันธ์ให้ความรู้ตามครัวเรือน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 278 51
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 7 7
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 271 44
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม. สามารถนำไปสู่การปฏิบัติ และแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) 2 .เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ได้รับการพัฒนาทักษะการให้บริการสาธารณสุขที่จำเป็น คัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สามารถดำเนินงานสุขภาพชุมชนในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ได้อย่างเข้มแข็ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม อบรม ให้ความรู้อสม. และฝึกปฎิบัติ (2) กิจกรรมให้บริการประชาชนในการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และให้บริการสาธารณสุขที่จำเป็น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) หมู่ที่ 4 ตำบลแม่ทอม ประจำปี 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5212-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจิรภา ทำทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด