กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ คัดแยกขยะเพื่อสุขภาพและป้องกันโรคของชุมชนเขต 3 ”
ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางอุษามาส สุขฤกษ์




ชื่อโครงการ คัดแยกขยะเพื่อสุขภาพและป้องกันโรคของชุมชนเขต 3

ที่อยู่ ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5278-02-29 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 พฤศจิกายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"คัดแยกขยะเพื่อสุขภาพและป้องกันโรคของชุมชนเขต 3 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คัดแยกขยะเพื่อสุขภาพและป้องกันโรคของชุมชนเขต 3



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรักษาสุขภาพและป้องกันโรค ที่มาจากขยะมูลฝอย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการประชุมคณะกรรมการการทำโครงการ (2) การให้ความรู้เรื่องสุขภาพและป้องกันโรค (3) กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์ (4) ค่าวัสดุและอุปกรณ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...การเข้าถึงประชาชนในเขตชุมชนประชาชนยังไม่ค่อยเปิดใจมากเท่าที่ควร เพราะประชาชนในชุมชนมองเรื่องขยะเป็นเรื่องปกติ เพราะมีทางกองสาธารณสุขของเทศบาลเป็นผู้รับผิดชอบในการขนขยะไปทิ้งและการคัดแยกขยะยังไม่ค่อยถูกต้อง 2.จะต้องให้ความรู้ความเข้าใจกับประชาชน อย่างต่อเนื้อง เพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนเพิกเฉย และช่วยกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกในเรื่องการคัดแยกขยะในครัวเรื่อนมากขึ้น และส่งเสริมให้ประชาชน ให้ทำกิจกรรมจากขยะมากขึ้นเพื่อสุขภาพและอนามัยที่ดีสำหรับครัวเรือนเป็นต้นแบบในการพัฒนาสู่สังคมและประชาชนมีจิตสำนึกในการทิ้งขยะมากขึ้น เพราะการสร้างมูลค่าของยะเป็นตัวชี้วัด

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลาและยังไม่สามารถหาทางออกที่ดีได้ โดยเฉพาะในจังหวัดสงขลาเป็นศูนย์ทางเศรษฐกิจ การค้าและการท่องเทียว สาเหตุเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยทุกปีตราอัตราการเพิ่มขึ้นของ จำนวนประชากร แม้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะพยายามหาวิธีการกำจัดของเสียอันตรายจากบ้านเรือนเป็นปัญหาสำคัญ ครัวเรือนเป็นแหล่งกำเนิดของของเสีย อันตรายจรากชุมชนประมาณ 1 ใน 4 ของทั้งหมด ซึ่งจากปัญหาขยะดังกล่าวก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน ในหลาย ๆ ด้าน หากวิธีการจัดการขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกวิธี ทำให้เกิดมลพิษ ทางดิน น้ำ และอากาศ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรักษาสุขภาพและป้องกันโรค ที่มาจากขยะมูลฝอย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการประชุมคณะกรรมการการทำโครงการ
  2. การให้ความรู้เรื่องสุขภาพและป้องกันโรค
  3. กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์
  4. ค่าวัสดุและอุปกรณ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีแหล่งเรียนรู้กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ 2.ประชาชนในชุมชนเขต 3 เทศบาลเมืองบ้านพรุ มีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องกันไม่ให้เกิดโรคจากขยะมูลฝอย 3.ช่วยลดปริมาณขยะและปัญหาเกี่ยวกับสุขภาวะของประชาชนในพื่นที่ชุมชนเขต 3


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับขยะที่มีอยู่ในครัวเรือน
  • ประชาชนสามารถรู้ได้ว่า ขยะเป็นพาหะนำโรคเมื่อการจัดเก็บไม่ถูกต้อง
  • ประชาชนได้รับทราบถึงประโยชน์ในการคัดแยกขยะเพื่อต่อยอดนำไปเป็นนวัตกรรมและขยะบางอย่างสามารถคัดแยกมาเป็นรายได้ให้ครอบครัวได้
  • ประชาชนสามารถนำขยะที่อยู่ในครัวเรือน แยกประเภทได้ถูกต้อง ทั้งขยะที่สามารถทำปุ๋ยหมัก และขยะอันตรายได้มากขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรักษาสุขภาพและป้องกันโรค ที่มาจากขยะมูลฝอย
ตัวชี้วัด :
3.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรักษาสุขภาพและป้องกันโรค ที่มาจากขยะมูลฝอย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการประชุมคณะกรรมการการทำโครงการ (2) การให้ความรู้เรื่องสุขภาพและป้องกันโรค (3) กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์ (4) ค่าวัสดุและอุปกรณ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...การเข้าถึงประชาชนในเขตชุมชนประชาชนยังไม่ค่อยเปิดใจมากเท่าที่ควร เพราะประชาชนในชุมชนมองเรื่องขยะเป็นเรื่องปกติ เพราะมีทางกองสาธารณสุขของเทศบาลเป็นผู้รับผิดชอบในการขนขยะไปทิ้งและการคัดแยกขยะยังไม่ค่อยถูกต้อง 2.จะต้องให้ความรู้ความเข้าใจกับประชาชน อย่างต่อเนื้อง เพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนเพิกเฉย และช่วยกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกในเรื่องการคัดแยกขยะในครัวเรื่อนมากขึ้น และส่งเสริมให้ประชาชน ให้ทำกิจกรรมจากขยะมากขึ้นเพื่อสุขภาพและอนามัยที่ดีสำหรับครัวเรือนเป็นต้นแบบในการพัฒนาสู่สังคมและประชาชนมีจิตสำนึกในการทิ้งขยะมากขึ้น เพราะการสร้างมูลค่าของยะเป็นตัวชี้วัด

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


คัดแยกขยะเพื่อสุขภาพและป้องกันโรคของชุมชนเขต 3 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5278-02-29

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุษามาส สุขฤกษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด