กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล


“ โครงการหนูน้อยพัฒนาการดีสุขภาพแข็งแรง ”

ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุชดีย์ หมัดปลอด

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยพัฒนาการดีสุขภาพแข็งแรง

ที่อยู่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5192-1-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยพัฒนาการดีสุขภาพแข็งแรง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยพัฒนาการดีสุขภาพแข็งแรง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยพัฒนาการดีสุขภาพแข็งแรง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5192-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพและสุขอนามัยในเด็กแรกเกิดถึงช่วงอายุ5 ปีเป็นช่วงระยะเวลาที่เด็กเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมากเป็นช่วงเวลาสำคัญที่สุดของการสร้างรากฐานชีวิตและจิตใจของมนุษย์ นอกจากร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างเร็วแล้วสมองของเด็กก็เจริญเติบโตสูงสุดในช่วงวัยนี้ด้วย ผู้ปกครองส่วนใหญ่มักให้ความสำคัญกับเด็กในการส่งเสริมการเจริญเติบโต ทางด้านร่างกาย เช่น รูปร่างน้ำหนัก ส่วนสูง และปล่อยให้พัฒนาการของเด็กเกิดขึ้นเองตามวัยแต่ในปัจจุบันความรู้จากการศึกษาและความตื่นตัวในวิทยาการสมัยใหม่ให้ความสำคัญต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กมากขึ้น ซึ่งนอกจากปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก เช่นพันธุกรรมที่ได้รับจากพ่อแม่แล้ว สิ่งแวดล้อมกับการเลี้ยงดูโดยการสร้างเสริมกิจกรรมกับเด็กผ่านการเล่นเป็นการส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่ผู้ปกครองควรทาในชีวิตประจำวันของเด็กรวมถึงให้การติดตามพัฒนาการของเด็กให้เหมาะสมตามวัยเป็นสิ่งที่ผู้ปกครองจะละเลยไม่ได้สิ่งต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลให้เด็กเติบโตขึ้นอย่างมีความสุขและมีคุณภาพต่อไป จากรายงานผลการดำเนินการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย4 ช่วงวัยของประเทศไทยโดยกระทรวงสาธารณสุขตั้งแต่ 1 เม.ย. 2558 – 31ม.ค.2559 พบว่า เด็กปฐมวัยช่วงอายุ 9, 18, 30,42 เดือนได้รับการคัดกรองครอบคลุมร้อยละ 71.96 และในกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองพบว่ามีพัฒนาการสงสัยล่าช้าร้อยละ 9.19ซึ่งต่ำกว่ามาตรฐานวิชาการ (ร้อยละ 30)ส่งผลให้เด็กสูญเสียโอกาสที่จะได้รับความช่วยเหลือให้มีพัฒนาการที่สมวัยและในปี 2559 กระทรวงสาธารณสุขจึงได้กำหนดให้มีการรณรงค์คัดกรอง 4 ช่วงวัย อายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือนด้วยเครื่องมือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)สำหรับผลการดำเนินงานคัดกรองพัฒนาการที่ผ่านมาพบเด็กจังหวัดสงขลาสงสัยพัฒนาการล่าช้า ร้อยละ 29.83ซึ่งเด็กกลุ่มดังกล่าวได้รับการกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการโดยผู้ปกครองเป็นระยะเวลา 1 เดือนผลการกระตุ้นพัฒนาการพบว่าเด็กร้อยละ 90 มีพัฒนาการกลับมาเป็นปกติ(สมวัย) พ่อแม่ผู้ปกครอง มีส่วนสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยการดูแลสุขภาพตั้งแต่ตั้งครรภ์, การดูแลเรื่องอาหารกับการเจริญเติบโตของเด็ก โดยส่งเสริมให้กินนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน เมื่อเด็ก 6 เดือนเป็นต้นไป ให้กินนมแม่ควบคู่กับอาหารตามวัย, การดูแลสุขภาพในช่องปากและฟัน การดูแลตั้งแต่แรกเริ่ม ทั้งการทำความสะอาดและการสอนให้เด็กเลือกรับประทานอาหารที่ไม่ก่อให้เหิดสาเหตุฟันผุได้ง่าย และควรพาเด็กไปพบทันตแพทย์ครั้งแรกเมื่อฟันซี่แรกขึ้น, การรับวัคซีน การฉีดวัคซีนเด็กจะช่วยสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กมีสุขภาพที่ดี และไม่มีการติดเชื้อได้ง่าย, การเล่น การออกกำลังกาย และการพักผ่อน เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กเล่นอย่างอิสระทั้งทางกาย ทางความคิด และทางสังคม, การสร้างความผูกพัน ภูมิคุ้มกันทางจิตใจ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ หรือผู้ปกครอง จะทำให้เด็กเกิดความรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง ส่งเสริมให้พัฒนาการด้านอารมณ์ และการพัฒนาทักษะทางสังคม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้เหมาะสมตามวัยและสร้างความรู้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กในการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
  2. เด็กที่คัดกรองแล้วพัฒนาการสงสัยล่าช้า หรือ ล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ จากพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดู และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กมีพัฒนาการทั้ง4ด้านที่ดีขึ้น -ด้านร่างกาย -ด้านอารมณ์และจิตใจ -ด้านสังคม –ด้านสติปัญญา
    2. เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ตามวัย
    3. กลุ่มพี่เลี้ยงบิดา-มารดาผู้ปกครองเด็กเห็นความสำคัญของพัฒนาการและเจตคติที่ดีตลอดจนมีส่วนช่วยส่งเสริมพัฒนาการที่ดีเหมาะสมกับวัยเด็กตลอดจนการส่งเสริมพฤติกรรมที่ดีแก่เด็กบุตรหลานของตนเอง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 6 ป้าย

    วันที่ 31 กรกฎาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่าป้ายประชาสัมพันธ์จำนวน 6 ป้ายๆละ 800 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    50 0

    2. ตรวจพัฒนาการเด็กด้วยเครื่องมือ DSPM

    วันที่ 3 สิงหาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่าชุดส่งเสริมพัฒนาการจำนวน 50 ชุดๆละ 100 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    50 0

    3. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ

    วันที่ 7 สิงหาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    • ค่าเอกสารแนะนำส่งเสริมพัฒนาการจำนวน 50 ชุดๆละ 55 บาทเป็นเงิน 2,750 บาท
    • ค่าอาหารว่างประชุมคณะกรรมการ/อสม.จำนวน 50 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท
    • ค่าอาหารกลางวันประชุมคณะกรรมการ/อสม.จำนวน 50 คนๆละ 60 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
    • ค่าวิทยากรจำนวน 1คน 2ชั่วโมงๆละ600 บาท เป็นเงิน1,200 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    50 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    • ประชุมคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าลำไพลเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการและมีส่วนร่วมในการกำหนดกิจกรรมดำเนินงาน
    • จัดทำโครงการเพื่อเสนออนุมัติ
    • อสม.ติดตามกลุ่มเป้าหมายให้เข้าร่วมโครงการหนูน้อยพัฒนาการดีสุขภาพแข็งแรง
    • ตรวจพัฒนาการเด็กด้วยเครื่องมือ DSPM
    • แจ้งผลการประเมินแก่ผู้ปกครองและพี่เลี้ยงเด็ก
    • แนะนำวิธีการสอนแก่ พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดู ให้สามารถเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการของบุตรหลานตนได้
    • แจกชุดส่งเสริมพัฒนาการ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้เหมาะสมตามวัยและสร้างความรู้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กในการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
    ตัวชี้วัด : เด็กที่อยู่ในช่วงอายุ 9,18,36,และ42เดือน ได้รับการตรวจพัฒนาการด้วยเครื่องมือDSPMไม่น้อยกว่า ร้อยละ95

     

    2 เด็กที่คัดกรองแล้วพัฒนาการสงสัยล่าช้า หรือ ล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ จากพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดู และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
    ตัวชี้วัด : เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการตรวจซ้ำร้อยละ100

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้เหมาะสมตามวัยและสร้างความรู้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กในการกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (2) เด็กที่คัดกรองแล้วพัฒนาการสงสัยล่าช้า หรือ ล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ จากพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดู และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหนูน้อยพัฒนาการดีสุขภาพแข็งแรง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5192-1-4

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวรุชดีย์ หมัดปลอด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด