กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง


“ โครงการให้ความรู้และรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ”

ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางรัชนีบุญโชติ

ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้และรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ที่อยู่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1491-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มีนาคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้ความรู้และรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้และรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการให้ความรู้และรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1491-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มีนาคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายจากโรคมะเร็งของสตรีในประเทศไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญพบว่า ผู้หญิงไทยป่วยเป็นมะเร็งเต้านมมากที่สุดและเป็นมะเร็งปากมดลูก มากเป็นอันดับ 2 ของโรคมะเร็งในผู้หญิงไทย แต่มะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ในกลุ่มมะเร็งของผู้หญิง สำนักงานวิจัยมะเร็งนานาชาติ องค์การอนามัยโลก ระบุว่า ในแต่ละปีมีผู้หญิงไทยเป็นมะเร็งปากมดลูกประมาณ 10,000 คน หรือวันละ 27 คน และเสียชีวิตจากโรคนี้ประมาณ 5,200 คน หรือประมาณร้อยละ 53เฉลี่ยวันละ 14 คน เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะอายและกลัวที่จะไปพบแพทย์เพื่อตรวจหาเชื้อมะเร็งทำให้กว่าจะรู้ว่าป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกความรุนแรงของโรคก็อยู่ในระยะลุกลามแล้ว และพบว่าผู้หญิงไทยป่วยเป็นมะเร็ง เต้านมมากที่สุด โดยผู้หญิงไทยหนึ่งแสนคนเป็นมะเร็งเต้านม 20- 25 คนและพบผู้ป่วยมะเร็งเต้านมเพิ่มปี ละ 13,000 เสียชีวิต 4,600คน หรือร้อยละ 35.38 ดังนั้นการดูแลตนเองเพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดมะเร็งและการค้นพบมะเร็งตั้งแต่ระยะเริ่มแรกในขณะที่ก้อนมีขนาดเล็กและก้อนมะเร็งยังไม่แพร่กระจายไปต่อมน้ำเหลือง จึงเป็นเรื่องสำคัญเพราะจะมีโอกาสรักษาหายขาดมากขึ้น ทั้งนี้ปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และทางด้านเศรษฐกิจ เป็นอย่างมาก แต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ดังนั้นถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกและในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ ก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค,อัตราการป่วย และอัตราการตาย จากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมลดลง
จากสถานการณ์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมย้อนหลัง 5 ปีตั้งแต่ปี 2555-2559ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาตาล่วง พบว่า มีผู้ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ ทั้งหมด 1,033 ราย พบผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อไปรักษาจำนวน 15 ราย มีจำนวน 2 รายที่ได้รับการผ่าตัดและเป็นมะเร็งปากมดลูก 1 ราย และมีสตรีที่เป็นมะเร็งเต้านม จำนวน 2 ราย เสียชีวิตจำนวน 1ราย และได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด 1 ราย
ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเป็นไปอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นการค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมให้เร็วที่สุดเพื่อให้ผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติได้รัยการรักษาอย่างถูกต้องและทันเวลาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาตาล่วงจึงได้จัดทำ "โครงการให้ความรู้และรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี2560" ขึ้น เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม โดยการให้ความรู้และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในประชากรกลุ่มเป้าหมายสตรีอายุ 30-60 ปีและตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-70 ปี ทั้งนี้เพื่อเฝ้าระวังและลดอัตราป่วยตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมซึ่งเป็นโรคที่สามารถรักษาได้ถ้าพบผู้ป่วยในระยะแรกเริ่ม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 375
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.อสม./แกนนำสุขภาพมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้า นมด้วยตนเองและสามารถให้คำแนะนำแก่ประชาชนในพื้นที่ได้ 2. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม 3. สตรีกลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงอันตรายของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านม ด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและเข้ารับบริการการตรวจมะเร็งปากมดลูก
    4.สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกทางห้องปฏิบัติการผิดปกติ และตรวจเต้านมผิดปกติ ได้รับการรักษา และส่งต่อ ตามระบบ ทันท่วงที


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.อบรมให้ความรู้ 2.บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 375
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 375
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการให้ความรู้และรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L1491-1-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรัชนีบุญโชติ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด