กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กไทย กลุ่มวัยเรียน ด้านอีคิว ไอคิว ในเขตพื้นที่ อบต.นาโยงเหนือ ”

ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายเลิศรัตน์ เอกสถาพรสกุล

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กไทย กลุ่มวัยเรียน ด้านอีคิว ไอคิว ในเขตพื้นที่ อบต.นาโยงเหนือ

ที่อยู่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-50117-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มกราคม 2563 ถึง 14 มกราคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กไทย กลุ่มวัยเรียน ด้านอีคิว ไอคิว ในเขตพื้นที่ อบต.นาโยงเหนือ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กไทย กลุ่มวัยเรียน ด้านอีคิว ไอคิว ในเขตพื้นที่ อบต.นาโยงเหนือ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กไทย กลุ่มวัยเรียน ด้านอีคิว ไอคิว ในเขตพื้นที่ อบต.นาโยงเหนือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-50117-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มกราคม 2563 - 14 มกราคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่งต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต การที่เด็กจะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพนั้น เด็กจะต้องมีพัฒนาการที่สมบูรณ์พร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จึงมีความจำเป็นที่เด็กจะต้องได้รับการพัฒนาตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาและต่อเนื่องไปจนถึงวัยรุ่น โดยเฉพาะพัฒนาการด้านสติปัญญาและอารมณ์ ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตทั้งในปัจจุบันและอนาคต
กรมสุขภาพจิต ประจำปี ๒๕๖๒-๒๕๖๓ ได้กำหนดนโยบายการพัฒนาสุขภาพจิตประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยวัยเรียนและวัยรุ่น เน้น “การเพิ่มระดับความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) และความฉลาดทางอารมณ์ (EQ)” และ “เฝ้าระวังการดูแลเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์ให้ได้รับการช่วยเหลือจนดีขึ้น” และ นโยบาย การพัฒนาความเป็นเลิศทางบริการ/วิชาการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช พัฒนาคุณภาพมาตรฐานของระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชของหน่วยบริการในเขตสุขภาพ เน้น “เพิ่มการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพจิตและ  จิตเวชในกลุ่มโรคและปัญหาที่สำคัญ ได้แก่ โรคออทิสติก โรคสมาธิสั้น” โดยการติดตามเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง ในชุมชนเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ/ฟื้นฟูสมรรถภาพภายใต้แนวคิด Recovery Model/การบำบัดรักษา ที่มีประสิทธิภาพ ในปี ๒๕๕๙ กรมสุขภาพจิต ได้สำรวจสถานการณ์ความฉลาดทางสติปัญญา (ไอคิว : IQ) และความฉลาดทางอารมณ์ (อีคิว : EQ) เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ทั่วประเทศจำนวน ๒๓,๖๔๑ คน พบว่า    เด็กมีคะแนนไอคิวเฉลี่ยอยู่ที่ ๙๘.๒ ซึ่งสูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับการสำรวจในปี ๒๕๕๔ ที่เฉลี่ยอยู่ที่ ๙๔ เด็กไทยมีไอคิวอยู่ในเกณฑ์ปกติ ถึง ๒ ใน ๓ หรือ ร้อยละ ๖๘ ขณะที่เด็กจาก ๔๒ จังหวัดรวมทั้งกรุงเทพมหานคร    มีไอคิว สูงเกิน ๑๐๐ ขึ้นไป อย่างไรก็ตาม ยังมีเด็กบางส่วนใน ๓๕ จังหวัด ไอคิวต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน นอกจากนี้ ยังพบเด็กที่มีระดับสติปัญญาอยู่ในเกณฑ์บกพร่องหรือต่ำกว่า ๗๐ ถึงร้อยละ ๕.๘ ซึ่งสูงกว่ามาตรฐานสากล ซึ่งไม่ควรเกินร้อยละ ๒ โดยพบเด็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้มีปัจจัยเสี่ยงสูงกว่าภาคอื่นๆ ตลอดจนยังพบว่า เด็กนอกเขตอำเภอเมือง มีระดับไอคิวเฉลี่ย ๙๖.๙ ขณะที่เด็กในเขตอำเภอเมือง    มีไอคิว ๑๐๑.๕ และเด็กในพื้นที่ กทม. มีไอคิวเฉลี่ย ๑๐๓.๔ ส่วนความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก พบเป็นไปตามเป้าหมาย ร้อยละ ๗๗ แต่ก็ยังพบเด็กจำนวนไม่น้อยที่ยังต้องการการพัฒนา ซึ่งเด็กมีปัญหาอีคิวมากที่สุด  ในด้านขาดความมุ่งมั่นพยายามและขาดทักษะในการแก้ไขปัญหา


จากการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาไอคิว – อีคิว คือ การขาดสารอาหาร การอยู่ในพื้นที่ชนบท การมีรายได้ไม่เพียงพอในครอบครัว ตลอดจนสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม โดยเด็กที่มีระดับไอคิวต่ำมากๆ มีแนวโน้มจะมีความฉลาดทางอารมณ์หรืออีคิวต่ำร่วมด้วย ซึ่งนโยบายจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เด็กตั้งแต่ปฐมวัย โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย นับเป็นอีก ๑ นโยบายสำคัญที่จะช่วยเพิ่มโอกาส เอื้อต่อการพัฒนา ไอคิว อีคิว ให้กับเด็กไทยได้ กระทรวงสาธารณสุขจึงบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เพื่อเพิ่มโอกาส สร้างความเท่าเทียม กำจัดสาเหตุปัญหาโภชนาการ เสริมภูมิคุ้มกันด้านการเลี้ยงดู สร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการพัฒนาไอคิว อีคิว ยกระดับคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก พัฒนาศักยภาพบุคลากร ตลอดจนผู้ที่เลี้ยงเด็ก ให้มีความรู้ความเข้าใจในการเลี้ยงดูเด็กที่เหมาะสมกับวัย มีการฝึกวินัยที่เหมาะสมเพื่อส่งผลให้เด็กเจริญเติบโตเป็นเด็กที่มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ มุ่งมั่นพยายาม มีคุณธรรมจริยธรรม และมีความสุขในชีวิต
กรมสุขภาพจิตดำเนินการป้องกันปัญหาและส่งเสริมศักยภาพ ไอคิว-อีคิวเด็กไทยใน ๓ ระดับ ดังนี้  ๑.ส่งเสริมพัฒนาการในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับโดยให้ความสำคัญต่อเด็กที่มีภาวะเสี่ยงให้ได้รับ    การช่วยเหลือแก้ไขได้เร็วที่สุด ๒.ส่งเสริมการเตรียมความพร้อมก่อนการเข้าเรียน ทั้งทักษะการอ่าน การคำนวณ ผ่านกลไกการเลี้ยงดูและการเล่นที่ถูกต้องในครอบครัวและศูนย์เด็กเล็ก มีเครื่องมือที่ทุกฝ่ายจะใช้ร่วมกันในการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก และ ๓.การติดตามดูแลเด็กต่อเนื่องในวัยเรียนด้วยการคัดกรองปัญหาการเรียนรู้ สมาธิสั้น ออทิสติก อารมณ์และพฤติกรรม เพื่อดูแลช่วยเหลือเด็ก เนื่องจากเมื่อเด็กเข้าถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ จะพบปัญหาดังกล่าวประมาณร้อยละ ๑๕ โดยครูจะสามารถ คัดกรองและช่วยเหลือเบื้องต้นและพิจารณาส่งต่อ  ระบบสาธารณสุขได้ในโปรแกรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่กรมสุขภาพจิตให้ความสำคัญและดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ครอบคลุมทั้งในทุกพื้นที่ รวมทั้งการฝึกอบรมและเพิ่มพยาบาลจิตเวชเด็กและวัยรุ่น ในโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์ ปัญหาการเรียนรู้ ปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์ รวมทั้ง EQ ของเด็กไทย กลุ่มวัยเรียน ในเขตพื้นที่่ อบต.นาโยงเหนือ
  2. เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ ปัญหาพฤติกรรม/อารมณ์ และแนวทาง การพัฒนา EQ ของเด็กไทย กลุ่มวัยเรียน ในเขตพื้นที่ อบต.นาโยงเหนือ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กไทย กลุ่มวัยเรียน ด้านอีคิว ไอคิว ในเขตพื้นที่ อบต.นาโยงเหนือ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 105
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ โรงเรียนวัดจอมไตร ได้รับการประเมินและแก้ไข ปัญหา การเรียนรู้ ปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์ รวมทั้ง EQ อย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กไทย กลุ่มวัยเรียน ด้านอีคิว ไอคิว ในเขตพื้นที่ อบต.นาโยงเหนือ

วันที่ 27 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ประสานโรงเรียนเป้าหมาย 2.ประเมินปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์ รวมทั้ง EQของนักเรียนระดับประถมศึกษาปี 1-6 3.วางแนวทางแก้ไขปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์ รวมทั้ง EQ ของนักเรียน (รายบุคคล) ธันวาคม 2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนระดับประถมศึกษาที่ 1-6 โรงเรียนวัดจอมไตร ได้รับการประเมินและแก้ไข ปัญหา การเรียนรู้ ปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์ รวมทั้ง EQ อย่างต่อเนื่อง

 

105 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนวัดจอมไตร ได้รับการประเมินและแก้ไข ปัญหา การเรียนรู้ ปัญหา พฤติกรรมและอารมณ์ รวม eQ อย่างต่อเนื่อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์ ปัญหาการเรียนรู้ ปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์ รวมทั้ง EQ ของเด็กไทย กลุ่มวัยเรียน ในเขตพื้นที่่ อบต.นาโยงเหนือ
ตัวชี้วัด :
105.00

 

2 เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ ปัญหาพฤติกรรม/อารมณ์ และแนวทาง การพัฒนา EQ ของเด็กไทย กลุ่มวัยเรียน ในเขตพื้นที่ อบต.นาโยงเหนือ
ตัวชี้วัด :
105.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 105 105
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 105 105
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์ ปัญหาการเรียนรู้ ปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์ รวมทั้ง EQ ของเด็กไทย กลุ่มวัยเรียน ในเขตพื้นที่่  อบต.นาโยงเหนือ (2) เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ ปัญหาพฤติกรรม/อารมณ์ และแนวทาง การพัฒนา EQ ของเด็กไทย กลุ่มวัยเรียน ในเขตพื้นที่ อบต.นาโยงเหนือ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กไทย กลุ่มวัยเรียน ด้านอีคิว ไอคิว ในเขตพื้นที่ อบต.นาโยงเหนือ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กไทย กลุ่มวัยเรียน ด้านอีคิว ไอคิว ในเขตพื้นที่ อบต.นาโยงเหนือ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-50117-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเลิศรัตน์ เอกสถาพรสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด