กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก0-72เดือน ปี 2563
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโล๊ะจูด
วันที่อนุมัติ 27 ธันวาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2563 - 18 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 12,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นส.สุรันนา มะอุง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 43 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มวัยทำงาน 43 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กอายุ 0-72 เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ (คน)
43.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ทุกคนอยากมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย ซึ่งการกินอาหารถุกต้อง เหมาะสม และพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดีนำไปสู่การมีสุขภาพดีหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหารถ้ากินมากเกินไปจะทำให้เป็นโรคอ้วน โภชนาการจึงเป็นเรื่องของการกินอาหารที่ร่างกายนำสารอาหารที่มีประโยชน์และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุขและเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการสร้างคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆโดยเฉพาะในเด็ก0-72เดือนเป็นวัยที่สำคัญของชีวิตเป็นรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตของร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน ปัญหาที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ได้แก่เด็กขาดสารอาหาร โลหิตจางขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม จากการประเมินผลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก0-72เดือนจะพบว่าในเขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา มีเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ 18 คน จากเด็กทั้งหมด 344 คน คิดเป็นร้อยละ 5.23 มีเด็กน้ำหนักค่อนข้างน้อย 25 คน คิดเป็นร้อยละ 7.26 ซึ่งตามเป้ากระทรวงสาธารณสุขกำหนดไม่ให้เกินร้อยละ 7 และในอนาคตมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กมีรูปร่างดีสมส่วนเพิ่มขึ้น

เด็กมีรูปร่างดีสมส่วนมากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 70

43.00 32.00
2 เพื่อให้จำนวนเด็กมีภาวะทุพโภชนาการลดลง

เด็กมีน้ำหนักตามเกณฑ์มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 85

37.00
3 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลเด็ก0-72เดือนและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และสามารถทำให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง พัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80

35.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 86 12,800.00 1 12,800.00
17 ส.ค. 63 คัดกรองเพื่อหาเด็กที่มีภาวะเสี่ยง / สาธิตเมนูอาหาร 86 12,800.00 12,800.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กขาดสารอาหารมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น เด็กมีรูปร่างดีสมส่วนเพิ่มขึ้น ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลเด็ก0-72เดือนและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ จำนวนเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าและสงสัยล่าช้าลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ธ.ค. 2562 00:00 น.