กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ


“ โครงการคัดกรองตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง เชิงรุกในชุมชน ”

ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาวีณา ยางหาด

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง เชิงรุกในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4117-1-03 เลขที่ข้อตกลง 12

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง เชิงรุกในชุมชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง เชิงรุกในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง เชิงรุกในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L4117-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบบ่อยมากเป็นอันดับ 2 ของโรคมะเร็งทั้งหมดของสตีไทยรองจากมะเร็งเต้านม ปัจจุบันในประเทศไทยแต่ละปี จะพบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ 10,000 ราย และเสียชีวิตจากการเป็นมะเร็งปากมดลูก 5,000ราย อัตราการเสียชีวิตของสตรีไทยเพิ่มขึ้นจาก 7 คน/วัน เป็น 14 คน/วัน สถิติจากสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะพบอพทย์ เมื่อระยะของโรคมะเร็งนั้นได้เข้าสู่ในระยะลุกลามแล้ว การรักษาจึงเป็นไปได้ยาก ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาที่สูง ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ก่อให้เกิดปัญหาด้านสังคมและครอบครัวตามมาอย่างมากมาย แต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ร้อยละ 30-50 สามารถป้องกันได้ด้วยการลดพฤติกรรมเสี่งและหากได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งที่เหมาะสมจะมารถป้องกันและได้รับการรักษาได้ทันท่วงที ดังนั้น ถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกที่จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งลดลง
จากผลการดำเนินงานปี 2559-2562 ที่ผ่านมา ให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ที่มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 272 ราย จากเป้าหมาย 662 ราย คิดเป็นร้อยละ 41.08 จากการดำเนินงานระยะเวลา 5 ปี ผลงานยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามตัวชี้วัด เนื่องผู้รับบริการไม่มีความตระหนักในการมารับบริการ
งานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองน้ำใส จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการตรวจมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองขึ้นเพื่อติดตามการตรวจสุขภาพอย่างต่อเนื่องของการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคด้วยซึ่งจะเป็นแนวทางในการสกัดโรคก่อนลุกลาม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกให้มีความครอบคลุมร้อยละ 20 และตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองร้อยละ 80 ในสตรีกลุ่มเป้าหมาย
  2. 2.เพื่อส่งเสริมสตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความเข้าใจและความตระหนักในตนเองในสตรีกลุ่มเป้าหมายให้มีความครอบคลุมร้อยละ 80 ด้วยตนเอง
  3. เพื่อทำความเข้าใจเกิดจากความตระหนักของคู่สมรสในสตรีกลุ่มเป้าหมาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกให้มีความครอบคลุม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 280
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และมีทัศนคติที่ดีในการตรวจมะเร้งปากมดลูก
2.สตรีกลุ่มเป้าหมายไม่ป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
3.สตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
4.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 50
5.คู่สมรสของกลุ่มเป้าหมายตระหนักและเข้าใจในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกให้มีความครอบคลุม

วันที่ 19 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอรับความเห็นชอบและอนุมัติ
2.ประสาน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในพื้นที่เพื่อติดตามผู้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในโครงการ
3.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเพื่อเข้าร่วมโครงการ
4.ลงทะเบียนผู้รับบริการเพื่อวางแผนการลงบริการแบบเชิงรุกและดำเนินกิจกรรมตามแผนที่กำหนดไว้ตามโครงการ
5.ดำเนินกิจกรรมจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องกาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง โดยจัดอบรมในหมู่บ้านเขตรับผิดชอบ จำนวน 4 หมู่บ้าน (ม.2,7,8,11 ต.บาละ) เป็นเวลา 4 วัน
6.จัดกิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในชุมชน
7.ส่งคืนข้อมูลการตรวจต่อสตรีที่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
8.สรุปผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานเสนอต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการคัดกรองตรวจมะเร็งปาดมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง เชิงรุกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองน้ำใส จึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อติดตามการตรวจสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคจะเป็นแนวทางในการสกัดโรคก่อนที่จะมีการลุกลาม

 

280 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกให้มีความครอบคลุมร้อยละ 20 และตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองร้อยละ 80 ในสตรีกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมสตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความเข้าใจและความตระหนักในตนเองในสตรีกลุ่มเป้าหมายให้มีความครอบคลุมร้อยละ 80 ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อทำความเข้าใจเกิดจากความตระหนักของคู่สมรสในสตรีกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 280
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 280
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกให้มีความครอบคลุมร้อยละ 20 และตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองร้อยละ 80 ในสตรีกลุ่มเป้าหมาย (2) 2.เพื่อส่งเสริมสตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความเข้าใจและความตระหนักในตนเองในสตรีกลุ่มเป้าหมายให้มีความครอบคลุมร้อยละ 80 ด้วยตนเอง (3) เพื่อทำความเข้าใจเกิดจากความตระหนักของคู่สมรสในสตรีกลุ่มเป้าหมาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกให้มีความครอบคลุม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง เชิงรุกในชุมชน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4117-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฟาวีณา ยางหาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด