กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการครัวสุขภาพดีที่บ้าน ปีงบประมาณ 2563
รหัสโครงการ 63-L5284-01-12
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกุบังปะโหลด
วันที่อนุมัติ 13 กุมภาพันธ์ 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 5 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางถนอมสิน หิรัญสถิตย์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 90 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 สาเหตุการตายส่วนใหญ่ของคนไทย เกิดจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มากถึงร้อยละ ๖๐
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ความรู้สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดสูงของผู้ป่วยโรคเบาหวาน

 

0.00
2 เพื่อให้ความรู้สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมระดับความดันโลหิตในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

 

0.00
3 เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการเลือกผลิตภัณฑ์ ฉลากโภชนาการ

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 15,000.00 0 0.00
??/??/???? อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายโรคเรื้อรังรุ่นที่ 1 0 7,650.00 -
??/??/???? อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายโรคเรื้อรังรุ่นที่ 2 0 7,350.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการมีระดับน้ำตาลในเลือดลดลงร้อยลง 60 2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการมีระดับความดันโลหิตสูงลดลงร้อยละ 60 3.ผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการ ลดอัตราการเกิดการแทรกซ้อนจากโรคของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ร้อยละ 50 4.ผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้ในการเลือกผลิตภัณฑ์ ฉลากโภชนาการ ร้อยละ 80

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 พ.ค. 2563 00:00 น.