กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลระโนด
รหัสโครงการ 63-L5226-3-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลระโนด
วันที่อนุมัติ 14 พฤศจิกายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 มกราคม 2563 - 31 มีนาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 4,680.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางศิริรัตน์ สุวรรณชนะ
พี่เลี้ยงโครงการ นางพูลพิศมัย นามหิรัญ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลระโนด อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.754,100.325place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 2 ม.ค. 2563 31 มี.ค. 2563 4,680.00
รวมงบประมาณ 4,680.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 39 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ผัก คือ หนึ่งในอาหารหลัก 5 หมู่ ที่มีประโยชน์ต่อร่างกายให้วิตามินและเกลือแร่ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโต และรักษาสมดุลของร่างกาย มีใยอาหารที่ช่วยย่อยและขับถ่ายโดยเฉพาะผักสด แต่เนื่องจากผักที่นำมาบริโภคส่วนใหญ่ซื้อมาจากตลาด ซึ่งผักเหล่านี้มักจะมีสารพิษตกค้างอยู่ ถ้าหากล้างไม่สะอาดก็จะทำให้เกิดอันตรายต่อตัวเด็ก และผู้บริโภคได้จากที่มีประโยชน์ก็จะกลายเป็นโทษต่อร่างกายทันที ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลระโนด จึงได้จัดโครงการปลูกผักปลอดสารพิษขึ้น เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้มีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย เด็กได้ลงมือปฏิบัติเองได้ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ นำผักไปประกอบอาหารกลางวัน ทำให้เด็กได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ ด้านอารมณ์ จิตใจ เพื่อให้เด็กมีความสนุกสนานที่ได้ลงมือปลูกผักด้วยตนเอง ด้านสังคม เด็กได้ช่วยกันปลูกผัก เกิดความสามัคคี และรู้จักการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ด้านสติปัญญา เด็กได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ เกิดการเรียนรู้ เห็นการเปลี่ยนแปลง การเจริญเติบโตของผัก ทำให้เด็กเกิดกระบวนการคิดด้วยตนเองและพัฒนาประสบการณ์ที่เหมาะสมได้ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กได้บริโภคผักปลอดสารพิษและรู้จักประโยชน์ของการรับประทานผัก
  1. ร้อยละ 85 เด็กได้รับประทานผักปลอดสารพิษและรู้จักประโยชน์ของผักปลอดสารพิษ
0.00
2 ข้อที่ 2 เพื่อสร้างทักษะการเรียนรู้ในเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ ให้แก่เด็กปฐมวัยเด็ก และได้เรียนรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงของผัก ลักษณะของผักที่เหมาะแก่การบริโภค
  1. ร้อยละ 85 เด็กเกิดการเรียนรู้ในเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและได้เรียนรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงของผัก ลักษณะของผักที่เหมาะแก่การบริโภค
0.00
3 ข้อที่ 3 เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตพอเพียงให้กับเด็ก
  1. ร้อยละ 85 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลระโนด มีแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตพอเพียงเหมาะแก่การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับเด็ก
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
2 ม.ค. 63 - 31 มี.ค. 63 จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ 39 4,680.00 -
รวม 39 4,680.00 0 0.00
  1. วางแผนและเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
  3. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติต่อผู้บริหาร และวางแผนดำเนินการ
  4. ดำเนินงานตามโครงการ
  5. ติดตามและประเมินผลโครงการ โดยการบันทึก สังเกต และเก็บภาพถ่าย
  6. สรุปผลและรายงานผลการจัดทำโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กได้รับประทานผักปลอดสารพิษและรู้จักประโยชน์ของผักปลอดสารพิษแต่ละชนิด 2. เด็กรู้จักวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเอง 3. เด็กมีแหล่งเรียนรู้วิถีขีวิตพอเพียง รู้จักการเรียนรู้ทดลอง สังเกตการเปลี่ยนแปลงของพืชผักที่ตนเองปลูก และได้เรียนรู้ถึงลักษณะของผักที่เหมาะแก่การบริโภค

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ธ.ค. 2562 08:33 น.