กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังสารเคมีตกค้างในเลือด ปี 2563
รหัสโครงการ 63-L3355-1-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านน้ำเลือด
วันที่อนุมัติ 6 ธันวาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 ธันวาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 พฤศจิกายน 2563
งบประมาณ 18,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.บ้านน้ำเลือด
พี่เลี้ยงโครงการ นายสรพงษ์ ชูเพชร
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.589,100.05place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 26 ธ.ค. 2562 30 ก.ย. 2563 26 ธ.ค. 2562 30 ก.ย. 2563 18,000.00
รวมงบประมาณ 18,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 432 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)
432.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยได้ชื่อว่าเป็นประเทศเกตรกรรมประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศกว่าร้อยละ ๔๐.๓๐ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และในปัจจุบันการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเริ่มประสบปัญหาผลผลิตตกต่ำอันเนื่องมาจากสภาพของดินที่เสท่มสภาพและจากแมลงศัตรูพืช ทำให้เกษตรหันมาใช้ปุ๋ยบำรุงดินและสารเคมีกำจัดศัตรูพืชมากขึ้น แม้ว่าทางราชการจะรณรงค์ให้มีการใช้สมุนไพรแต่สมุนไพรก็ยังมีข้อจำกัดในการใช้หลายประการ อาทิ ไม่สะดวกเนื่องจากต้องใช้เวลาในการจัดหาหรือเตรียมและไม่สามารถใช้ได้ผลกับแมลงบางชนิด จึงทำให้เกษตรกรยังนิยมที่จะใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืชมากกว่า ซึ่งจะส่งผลให้เกิดอันตรายกับตัวเกษตรกรผุ้ใช้เองและสภาพแวดล้อมหากว่าการใช้สารเคมีกำจัดศัตรพื้ชไม่ถูกต้อง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

432.00 432.00
2 กลุ่มประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับสารพิษตกค้างในเลือด การหลีกเลี่ยง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มประชาชนได้เข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐

432.00
3 กลุ่มเสี่ยงมีผลเลือดปกติ / ปลอดภัยเพิ่มขึ้น

หลังจากได้รับความมรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงมีผลเลือดสู่ภาวะปกติ / ปลอดภัยไม่ต่ำว่าร้อยละ ๒๐

432.00
4 เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

432.00 431.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 เจาะหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่กลุ่มเป้าหมายทุกคน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 864 18,000.00 2 18,000.00
11 พ.ย. 62 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 432 18,000.00 18,000.00
11 พ.ค. 63 ติดตามตรวจเลือดซ้ำหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 432 0.00 0.00

จัดอบรมให้ความรู้และวิธีปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมถึงวิธีการกำจัดสารพิษตกค้างในเลือด
ติดตามเจาะเลือดซ้ำแก่กลุ่มเป้าหมายหลังได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ติดตามเจาะเลือดซ้ำกลุ่มที่ยังผิดปกติในปีถัดไป

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเป้าหมายได้เข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ธ.ค. 2562 09:05 น.