กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังสารเคมีตกค้างในเลือด ปี 2563

ชุมชน ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3355-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 ธันวาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน ธันวาคม 2562 ถึงเดือน กันยายน 2563

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรม รุ่นที่ 1 จำนวน 108 คน รุ่นที่ 2 จำนวน 112 คน รุ่นที่ 3 จำนวน 115 คน รุ่นที่ 4 จำนน 112 คน รวมทั้งสิ้น  447 คน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากสารเคมีทางการเกษตร แนวทางการใช้สารเคมีทางการเกษตรอย่างปลอดภัย และวิธีการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากสารเคมีตกค้างและวิธีการกำจัดสารเคมีตกค้างในเลือด

  • photo
  • photo

 

432 0

2. ติดตามตรวจเลือดซ้ำหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

วันที่ 24 สิงหาคม 2563 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีการตรจผลเลือดซ้ำหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีการเจาะ จำนวน 431 ราย ผลการตรวจปกติ จำนวน 51 ราย ผลการตราจปลอดภัย จำนวน 211 ราย ผลการตรวจเสี่ยง จำนวน 122 ราย ผลการตรวจไม่ปลอดภัย จำนวน 47 ราย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ติดตามตรวจเลือดซ้ำหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

  • photo
  • photo
  • photo

 

432 0

3. เจาะหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่กลุ่มเป้าหมายทุกคน

วันที่ 26 กันยายน 2563 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้เจาะหาสารเคมีตกค้างในเลือดในกลุุ่มเป้าหมาย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เจาะหาสารเคมีตกค้างในเลือดในกลุ่มเป้าหมาย

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

432 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 3 3                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 18,000.00 18,000.00                  
คุณภาพกิจกรรม 12                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
รพ.สต.บ้านน้ำเลือด
ผู้รับผิดชอบโครงการ