โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันโรคไข้เลือดออก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายไตรรงค์ ชูเงิน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันโรคไข้เลือดออก
ที่อยู่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L7574-1-7 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L7574-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของเทศบาลไว้ หน้าที่อันหนึ่งที่เทศบาลต้องดำเนินการ คือ การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อมีสาเหตุจาก การรับเชื้อไวรัสแดงกี่ (Denque virus) โดยมียุงลาย ( Aedes Aegypti) ตัวเมียเป็นพาหนะไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศ การเกิดโรคเริ่มจากยุงลายตัวเมียจะไปกัดผู้ป่วยไข้เลือดออก ซึ่งเชื้อจะเข้าไปอยู่ที่กระเพาะและต่อมน้ำลายของยุง เมื่อกัดคนก็จะปล่อยเชื้อออกมา คนที่ได้รับเชื้อระยะแรกจะมีอาการ ไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ หากเป็นรุนแรงก็จะเข้าสู่ระยะเลือดออกและช็อก ระยะนี้จะมีเลือดออกในอวัยวะต่างๆ เกิดการรั่วของพลาสมาออกจากหลอดเลือดส่งผลให้ผู้ป่วยขาดน้ำ ซีด หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและทันท่วงที อาจทำให้ผู้ป่วยช็อกถึงแก่ชีวิตได้ ด้วยเพราะโรคไข้เลือดออกมีลักษณะอาการคล้ายกับ โรคไข้หวัดใหญ่ ไข้มาลาเรีย ไข้ไทฟอยด์ และโรคหัด จึงเป็นการยากที่จะวินิจฉัย เพื่อทำการรักษาให้ถูกต้องตั้งแต่ระยะแรก
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ในปี พ.ศ.๒๕๕๙ ข้อมูลจากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค ๕๐๖ สำนักระบาดวิทยาณ วันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๙ มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออกในจังหวัดพัทลุง สะสมรวม ๔๖๒ คน อัตราป่วย ๘๘.๕๘ ต่อแสนประชากร ข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอควนขนุน ในช่วงวันที่ ๑ มกราคม - ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๙ อำเภอควนขนุน มีผู้ป่วยไข้เลือดออก สะสมรวม ๔๘ คน อัตราป่วย ๕๗.๖๒ ต่อแสนประชากร เฉพาะตำบลมะกอกเหนือ มีผู้ป่วยไข้เลือดออก สะสมรวม ๑ คน คิดเป็นอัตราป่วย ๑๓.๕๐ ต่อแสนประชากรแต่ในช่วงวันที่๑-๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ เทศบาลตำบลมะกอกเหนือได้รับแจ้งจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากคลอง พบผู้ป่วย ๒ ราย อัตราป่วย ๙๐.๖๒ ต่อแสนประชากร ซึ่งสูงกว่าภาพรวมของตำบลมะกอกเหนือ อำเภอ และจังหวัด ซึ่งแสดงให้เห็นถึง ความเสี่ยงของประชาชน เนื่องจากในพื้นที่มีองค์ประกอบพร้อมที่ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก อันได้แก่คน เชื้อ และยุงลายเนื่องจากไข้เลือดออกเป็นโรคอันตรายที่อาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ จึงจำเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกันมิให้ประชาชนป่วยและเสียชีวิต จากโรคไข้เลือดออก ซึ่งวิธีการป้องกันวิธีหนึ่งนั่นคือการตัดวงจรของการเกิดโรค โดยการกำจัดยุงลาย ซึ่งเป็นพาหนะนำโรคมาสู่คนการกำจัดยุงลายนั้นวิธีที่ดี ประหยัด และปลอดภัยที่สุด ก็คือการกำจัดลูกน้ำยุงลาย เพราะในวงจรชีวิตของยุงลาย จากไข่เป็นตัวเต็มวัยต้องใช้เวลา ๘-๑๒ วัน ในช่วงนี้ลูกน้ำยุงลาย จะอยู่ในแหล่งน้ำขังต่างๆ การกำจัดจึงทำได้ง่าย เพียงหมั่นสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ทุก ๗ วัน
ดังนั้น หากเทศบาลร่วมกับประชาชนในชุมชนดำเนินการตัดวงจรของการเกิดโรคไข้เลือดออกโดยการกำจัดยุงลายพาหะนำเชื้อโรคไข้เลือดออก พร้อมให้ความรู้แก่ประชาชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก เชื่อว่าจะทำให้ประชาชนปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงเสนอจัด “โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก”ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ๒. เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุง
- ๓. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชนตระหนักถึงพิษภัยของโรคไข้เลือดออก
๒. ประชาชนปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
๓. เกิดการทำงานแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงานและชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ๑. ดัชนี House Index , Conteiner Index อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
๒. จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่ ไม่เกิน ๕๐ ต่อ ๑๐๐,๐๐๐ ประชากร
2
๒. เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุง
ตัวชี้วัด : ๑. ดัชนี House Index , Conteiner Index อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
๒. จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่ ไม่เกิน ๕๐ ต่อ ๑๐๐,๐๐๐ ประชากร
3
๓. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ๑. ดัชนี House Index , Conteiner Index อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
๒. จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่ ไม่เกิน ๕๐ ต่อ ๑๐๐,๐๐๐ ประชากร
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (2) ๒. เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุง (3) ๓. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L7574-1-7
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายไตรรงค์ ชูเงิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายไตรรงค์ ชูเงิน
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L7574-1-7 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L7574-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของเทศบาลไว้ หน้าที่อันหนึ่งที่เทศบาลต้องดำเนินการ คือ การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อมีสาเหตุจาก การรับเชื้อไวรัสแดงกี่ (Denque virus) โดยมียุงลาย ( Aedes Aegypti) ตัวเมียเป็นพาหนะไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศ การเกิดโรคเริ่มจากยุงลายตัวเมียจะไปกัดผู้ป่วยไข้เลือดออก ซึ่งเชื้อจะเข้าไปอยู่ที่กระเพาะและต่อมน้ำลายของยุง เมื่อกัดคนก็จะปล่อยเชื้อออกมา คนที่ได้รับเชื้อระยะแรกจะมีอาการ ไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ หากเป็นรุนแรงก็จะเข้าสู่ระยะเลือดออกและช็อก ระยะนี้จะมีเลือดออกในอวัยวะต่างๆ เกิดการรั่วของพลาสมาออกจากหลอดเลือดส่งผลให้ผู้ป่วยขาดน้ำ ซีด หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและทันท่วงที อาจทำให้ผู้ป่วยช็อกถึงแก่ชีวิตได้ ด้วยเพราะโรคไข้เลือดออกมีลักษณะอาการคล้ายกับ โรคไข้หวัดใหญ่ ไข้มาลาเรีย ไข้ไทฟอยด์ และโรคหัด จึงเป็นการยากที่จะวินิจฉัย เพื่อทำการรักษาให้ถูกต้องตั้งแต่ระยะแรก
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ในปี พ.ศ.๒๕๕๙ ข้อมูลจากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค ๕๐๖ สำนักระบาดวิทยาณ วันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๙ มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออกในจังหวัดพัทลุง สะสมรวม ๔๖๒ คน อัตราป่วย ๘๘.๕๘ ต่อแสนประชากร ข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอควนขนุน ในช่วงวันที่ ๑ มกราคม - ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๙ อำเภอควนขนุน มีผู้ป่วยไข้เลือดออก สะสมรวม ๔๘ คน อัตราป่วย ๕๗.๖๒ ต่อแสนประชากร เฉพาะตำบลมะกอกเหนือ มีผู้ป่วยไข้เลือดออก สะสมรวม ๑ คน คิดเป็นอัตราป่วย ๑๓.๕๐ ต่อแสนประชากรแต่ในช่วงวันที่๑-๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ เทศบาลตำบลมะกอกเหนือได้รับแจ้งจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากคลอง พบผู้ป่วย ๒ ราย อัตราป่วย ๙๐.๖๒ ต่อแสนประชากร ซึ่งสูงกว่าภาพรวมของตำบลมะกอกเหนือ อำเภอ และจังหวัด ซึ่งแสดงให้เห็นถึง ความเสี่ยงของประชาชน เนื่องจากในพื้นที่มีองค์ประกอบพร้อมที่ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก อันได้แก่คน เชื้อ และยุงลายเนื่องจากไข้เลือดออกเป็นโรคอันตรายที่อาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ จึงจำเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกันมิให้ประชาชนป่วยและเสียชีวิต จากโรคไข้เลือดออก ซึ่งวิธีการป้องกันวิธีหนึ่งนั่นคือการตัดวงจรของการเกิดโรค โดยการกำจัดยุงลาย ซึ่งเป็นพาหนะนำโรคมาสู่คนการกำจัดยุงลายนั้นวิธีที่ดี ประหยัด และปลอดภัยที่สุด ก็คือการกำจัดลูกน้ำยุงลาย เพราะในวงจรชีวิตของยุงลาย จากไข่เป็นตัวเต็มวัยต้องใช้เวลา ๘-๑๒ วัน ในช่วงนี้ลูกน้ำยุงลาย จะอยู่ในแหล่งน้ำขังต่างๆ การกำจัดจึงทำได้ง่าย เพียงหมั่นสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ทุก ๗ วัน
ดังนั้น หากเทศบาลร่วมกับประชาชนในชุมชนดำเนินการตัดวงจรของการเกิดโรคไข้เลือดออกโดยการกำจัดยุงลายพาหะนำเชื้อโรคไข้เลือดออก พร้อมให้ความรู้แก่ประชาชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก เชื่อว่าจะทำให้ประชาชนปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงเสนอจัด “โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก”ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ๒. เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุง
- ๓. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชนตระหนักถึงพิษภัยของโรคไข้เลือดออก ๒. ประชาชนปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก ๓. เกิดการทำงานแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงานและชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ๑. ดัชนี House Index , Conteiner Index อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรค ๒. จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่ ไม่เกิน ๕๐ ต่อ ๑๐๐,๐๐๐ ประชากร |
|
|||
2 | ๒. เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุง ตัวชี้วัด : ๑. ดัชนี House Index , Conteiner Index อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรค ๒. จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่ ไม่เกิน ๕๐ ต่อ ๑๐๐,๐๐๐ ประชากร |
|
|||
3 | ๓. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ๑. ดัชนี House Index , Conteiner Index อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรค ๒. จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่ ไม่เกิน ๕๐ ต่อ ๑๐๐,๐๐๐ ประชากร |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อสร้างความร่วมมือกับชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (2) ๒. เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุง (3) ๓. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L7574-1-7
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายไตรรงค์ ชูเงิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......