กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง


“ โครงการบริหารจัดการกองทุน การพัฒนาศักยภาพ และคณะกรรมการและพัฒนาระบบบริหารจัดการ ”

ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปะกาฮะรัง

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุน การพัฒนาศักยภาพ และคณะกรรมการและพัฒนาระบบบริหารจัดการ

ที่อยู่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3016-4-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุน การพัฒนาศักยภาพ และคณะกรรมการและพัฒนาระบบบริหารจัดการ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุน การพัฒนาศักยภาพ และคณะกรรมการและพัฒนาระบบบริหารจัดการ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุน การพัฒนาศักยภาพ และคณะกรรมการและพัฒนาระบบบริหารจัดการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3016-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปะกาฮะรัง เป็นองค์กรที่บริหารจัดการเกี่ยวกับการ สร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกในพื้นที่อย่างทั่วถึงและที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต โดยมีแนวทางการดำเนินงานดังนี้ 1.กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 2.กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 3.กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 4.กลุ่มวัยทำงาน 5.กลุ่มผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้อรัง 6.กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 7.กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสียง ซึ่งการดำเนินงานกองทุนต้องมีหลักการบริหารงบประมาณอย่างโปร่งใส ประชาชนสามารถตรวจสอบได้ กองทุนมีกลุ่มบุคคลที่ได้รับความไว้วางใจให้มาบริหารจัดการ ซึ่งคณะกรรมการกองทุนประกอบด้วยบุคคล 2 ส่วน คือมาจากตำแหน่ง และมาจากการคัดเลือกของหมู่บ้าน ซึ่งคณะกรรมการจะได้รับการแต่งตั้งจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี โดยมีอำนาจหน้าที่ตามระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปะกาฮะรัง เรื่อง การดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2558 ข้อ 11 ว่าด้วยอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุน ซึ่งการพิจารณางบประมาณการใช้จ่ายของกองทุนจะใช้จ่ายตามแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติตามระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปะกาฮะรังเรื่อง การดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2558 ข้อ 7 ว่าด้วยการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุน นั้น โดยตามระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปะกาฮะรัง เรื่อง การดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2558 ข้อ 7 (4) กำหนดให้กองทุนสามารถกำหนดค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพได้ ทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณ นั้น และในกรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อซื้อครุภัณฑ์นั้นจะต้องมีราคาไม่เกิน 20,000 บาทต่อหน่วย โดยการจัดซื้อจัดจ้างให้ใช้ระเบียบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยอนุโลมและครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ให้อยู่ในความดูแลและบำรุงรักษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กองทุนมีความพร้อมในการดำเนินงาน
  2. เพื่อประสิทธิภาพในการบริหารจัดการกองทุน
  3. เพื่อดำหนดกรอบค่าใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงาน/โครงการด้านการบริหารจัดการหรือพัฒนากองทุน
  4. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุยคณะอนุกรรมการคณะทำงาน
  5. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการอนุมัติและจัดแผน/โครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปะกาฮะรัง
  2. พัฒนาการบริหารกองทุนฯ โดยองค์รวม
  3. การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปะกาฮะรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 26

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปะกาฮะรัง สามารถพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุน พัมนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 1.กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ มีการบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมออนไลน์และมีฐานข้อมูล เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานกองทุนฯ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การบริหารจัดการระบบหลักประกัน 2.คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระบบหลักประกันสุขภาพ มีระบบบริหารจัดการ การติดตาม วิเคราะห์ ประมวลผล ผ่านระบบออนไลน์ สามารถนำมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ 3.ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้เกิดการประสานความร่วมมือในการดำเนินงานสุขภาพชุมชนทั้งในด้านการรักษาพยาบาลในระดับปฐมภูมิ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพในระดับชุมชน 4.เพื่อพัมนาฐานข้อมูลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดำเนินงานของกองทุนฯ แก้คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เกิดนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการดำเนินงาส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคในชุมชนของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กองทุนมีความพร้อมในการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : มีการเสนอมรายงานทางการเงินต่อประธานคณะกรรมการทุกเดือน
0.00

 

2 เพื่อประสิทธิภาพในการบริหารจัดการกองทุน
ตัวชี้วัด : มีการเสนอรายงานทางการเงินต่อ สปสช. เขต 12 ทุกไตรมาส
0.00

 

3 เพื่อดำหนดกรอบค่าใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงาน/โครงการด้านการบริหารจัดการหรือพัฒนากองทุน
ตัวชี้วัด : คะแนนการประเมินตนเองเพิ่มขึ้น
0.00

 

4 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุยคณะอนุกรรมการคณะทำงาน
ตัวชี้วัด : มีค่าใช้จ่ายไม่เกินร้อยละ 15 ของรายรับปีงบประมาณ 2563
0.00

 

5 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการอนุมัติและจัดแผน/โครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการได้รับการอบรมให้ความรู้ครบ 100%
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 26
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 26

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กองทุนมีความพร้อมในการดำเนินงาน (2) เพื่อประสิทธิภาพในการบริหารจัดการกองทุน (3) เพื่อดำหนดกรอบค่าใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงาน/โครงการด้านการบริหารจัดการหรือพัฒนากองทุน (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุยคณะอนุกรรมการคณะทำงาน (5) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการอนุมัติและจัดแผน/โครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปะกาฮะรัง (2) พัฒนาการบริหารกองทุนฯ โดยองค์รวม (3) การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปะกาฮะรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุน การพัฒนาศักยภาพ และคณะกรรมการและพัฒนาระบบบริหารจัดการ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3016-4-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปะกาฮะรัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด