กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง


“ โครงการดูแลใส่ใจสตรี มีสุขภาพดี ตรวจค้นหามะเร็งปากมดลูกและเต้านม ”

ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะกาฮะรัง

ชื่อโครงการ โครงการดูแลใส่ใจสตรี มีสุขภาพดี ตรวจค้นหามะเร็งปากมดลูกและเต้านม

ที่อยู่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3016-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 มีนาคม 2563 ถึง 24 มีนาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลใส่ใจสตรี มีสุขภาพดี ตรวจค้นหามะเร็งปากมดลูกและเต้านม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลใส่ใจสตรี มีสุขภาพดี ตรวจค้นหามะเร็งปากมดลูกและเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลใส่ใจสตรี มีสุขภาพดี ตรวจค้นหามะเร็งปากมดลูกและเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3016-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 มีนาคม 2563 - 24 มีนาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การอุบัติการณ์ของโรคมะเร็งในประเทศไทย ในปัจจุบันมีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งอันดับหนึ่ง ประมาณ 60000 รายต่อปี ซึ่งมากกว่าโรคหัวใจ สำหรับตำบลปะกาฮะรังมีผู้ป่วยโรคมะเร็ง จำนวน 15 รายแล้ว เสียชีวิตแล้ว 12 รายแล้ว โรคมะเร็งปากมดลูก มักพบในผู็สูงอายุ 35-60 ปี แต่ก็อาจพบ มะเร็งปากมดลูก ก่อนวัยอันควร ทั้งนี้ อาการของผู็ป่วย มะเร็งปากมดลูก จะมากหรือน้อยขึ้นกับระยะของมะเร็ง ซึ่งอาการที่พบในผู้ป่วย โรคมะเร็งปากมดลูก ได้แก่ อาการตกเลือดทางช่องคลอด เป็นอาการที่พบได้มากที่สุดประมาณ 80 - 90 ของผู้ป่วย มะเร็งปากมดลูก ลักษณะเลือดที่ออกอาจจะเป็นเลือดออกกะปริบกะปรอยระหว่างรอบเดือน มีตกขาวผิดปกติ กลิ่นเหม็น มีเลือดปน หรือมีเลือดออกเวลามีเพศสัมพันธ์ ถ้าเป็นมากและมะเร็งลุกลามออกไปด้านข้าง หรือลุกลามไปที่อุ้งเชิงกรานก็จะมีอาการปวดหลังได้ เราะไปกดทับเส้นประสาท อาการในระยพหลังเมื่อมะเร็งลุกลามหรือไปสู๋อวัยวะอื่นๆ ได้แก่ ขาบวม ปวดหลัง ปวดก้นกบ ปัสสาวะเป็นเลือด ถ่ายอุจจาระเป็นเลือด เป็นต้น โรคมะเร็งมี 4 ระยะ ได้แก่ ระยะ 0 คือ เซลล์มะเร็งยังไม่กระจาย วิธีรักษา มะเร็งปากมดลูก ระยะ 0 คือผ่าตัดเล็ก ซึ่งใช้เวลาเพียง 15 นาที และตรวจติดตามอาการ การรักษาระยะนี้ได้ผลเกือบ 100% ระยะที่ 1 เซลล์มะเร็งอยู่ที่ปากมดลูก การรักษา มะเร็งปากมดลูก ระยะ 1 คือ ผ่าตัดใหญ่ ผ่าตัดมดลูก เลาะต่อมน้ำเหลืองในเชิงกราน ซึ่งได้ผลดีเกือบ 80% ระยะที่ 2 เซลล์มะเร็งกระจายออกจากปากมดลูกโดยยังไม่ไปไกลมาก แต่ก็ไม่สามารถผ่าตัดได้ การรักษามะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 2 เซลล์มะเร็งกระจายออกจากปากมดลูก โดยยังไม่ไปไกลมาก แต่ก็ไม่สามารถผ่าตัดได้ การรักษามะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 2 ต้องรักษาด้วยการฉายรังสี และการให้เคมีบำบัด (คีโม) ได้ผลราว 60% ระยะที่ 3 เซลล์นะเร็งกระจายชิดเชิงราน การรักษา มะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 3 คือใช้รังสีรักษา และการให้เคมีบำบัด การรักษาระยะนี้ได้ผลประมาณ 20-30% ระยะที่ 4 เป็นะระยะที่เซลล์มะเร็งกระจายทั่วร่างกาย การรักษา มะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 4 คือ การให้คีโม และการรักษาตามอาการ โดยหวังผลได้เพียง 5-10% และโอกาสรอดน้อยมาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาตำบลปะกาฮะรัง เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพแม่บ้าน ที่มีหน้าที่ดูแลลูก ดูแลครอบครัวเคียงคู่พ่อบ้าน เมื่อขาดแม่บ้านไปจะมีผลกระทบหลายอย่างตามมา เช่น ครอบครัวตกอยู่ในสภาวะบ้านแตกสาแหรกขาด เด็กขาดความอบอุ่น และปัญหายาเสพติด จึงเป็นภาระของสังคมอีก ดังนั้น จึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ และเปลี่ยนมุมมองใหม่ เพื่อให้แม่บ้านเกิดความตระหนักในการป้องกันโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้และผลกระทบโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่สตรีอายุ 30-60 ปี
  2. เพื่อสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
  3. เพื่อรณรงค์ทำการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีการ pap smear

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก พร้อมตรวจแปปเสมียร์ รุ่นที่1
  2. ให้ความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก พร้อมตรวจแปปเสมียร์ รุ่นที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายหลังรับการอบรมให้ความรู้และผลกระทบโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่สตรีอายุ 30-60 ปี 2.เพื่อสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง 3.เพื่อรณรงค์ทำการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธ๊การ pap smear


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้และผลกระทบโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่สตรีอายุ 30-60 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
0.00

 

2 เพื่อสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 40 ของกลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการตรวจแป็ปเสมียร์และตรวจเต้านม
0.00

 

3 เพื่อรณรงค์ทำการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีการ pap smear
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้และผลกระทบโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่สตรีอายุ 30-60 ปี (2) เพื่อสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (3) เพื่อรณรงค์ทำการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีการ pap smear

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก พร้อมตรวจแปปเสมียร์ รุ่นที่1 (2) ให้ความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก พร้อมตรวจแปปเสมียร์ รุ่นที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลใส่ใจสตรี มีสุขภาพดี ตรวจค้นหามะเร็งปากมดลูกและเต้านม จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3016-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะกาฮะรัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด