กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง


“ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ดูแลสุขภาพตนเอง (self care) ”

ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
สภาเด็กและเยาวชน

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ดูแลสุขภาพตนเอง (self care)

ที่อยู่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3016-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 ธันวาคม 2562 ถึง 21 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ดูแลสุขภาพตนเอง (self care) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ดูแลสุขภาพตนเอง (self care)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ดูแลสุขภาพตนเอง (self care) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3016-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 ธันวาคม 2562 - 21 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัยรุ่นเป็นวัยที่มีความสำคัญเนื่องจากเป็นช่วงวัยของการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นผู้ใหญ่ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงถือเป็นสิ่งสำคัญและอาจกล่าวได้ว่าเป็นวิกฤตแห่งชีวิตหากไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม หรือการได้รับข้อมูล การสนับสนุนจากครอบครัวและบุคลากรรอบข้างที่ถูกต้อง ก็อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่เหมาะสมได้ ดังนั้น การได้รับข้อมูล การสนับสนุนจากครอบครัวและบุคคลรอบข้าง รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์และการศึกษา จะส่งผลให้วัยรุ่นได้รับความรู้ข้อมูลข่าวสารเพื่อให้เกิดการปรับตัว และเกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมเพื่อลดปัญหาทางสุขภาพต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปัญหาการดูแลสุขอนามัยที่ไม่เหมาะสม ปัญหาการคบเพื่อต่างเพศ เป็นต้น อีกทั้งปัญหาการปรับตัวของวัยรุ่นที่ขาดความรู้ ประสบการณ์และขาดการสนับสนุนจากผู็ปกครอง สถาบันการศึกษาและบุคลกรทีมสุขภาพ อาจนำไปสู่การมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ เช่น ปัญหาด้านอนามัยเจริญพันธุ์ เพศสัมพันธ์ การใช้สารเสพติด ปัญหาการคบเพื่อน การเตรีนมความพร้อมเพื่อพัฒนาทักาะในการดูแลตนเองจะช่วยสร้างความตระหนักและปลุกจิตสำนึกให้แก่วัยรุ่น เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นที่มีผลต่อสุขภาพได้ จากการประเมินและค้นหาปัญหาของวัยรุ่นในตำบลปะกาฮะรัง พบว่ามีปัญหาเกี่ยวกับการขาดความรู้ในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย การดูลแสุขอนามัยบุคคล ทักษะการใช้ชีวิต ซึ่งคณะผู้จัดทำโครงการฯ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้ร่วมกันจัดจัดทำโครงการ เยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ ดูแลสุขภาพตนเอง (self care) เพื่อเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนตามพัฒนาการด้านต่างๆสุขอนามัยการปฏิบัติตัว และทักษะการใช้ชีวิตโดยให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เมื่อสิ้นสุดโครงการผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ปรับตัวให้ผ่านภาวะวิกฤตและก้าวเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ได้อย่างมีคุณค่าต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการด้านต่างๆ ในวัยรุ่นให้แก่เยาวชนที่ร่วมกิจกรรม
  2. เพื่อให้ผู้ร่วมกิจกรรมได้รฦู็จักวิธีดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล และการดูแลสุขภาพด้านร่างกายที่เหมาะสมตามวัย
  3. เพื่อให้ความรู้การใช้ทักษะชีวิตทางสังคมให้แก่กลุ่มวัยรุ่นในแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมบรรยายให้ความรู้
  2. กิจกรรมละลายพฤติกรรม
  3. กิจกรรมกลุ่ม ระดมความคิด นำเสนอ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการด้านต่างๆ สุขอนามัย การปฏิบัติตัว การรู้จักใช้ทักษะชีวิตทางสังคมในแนวทางที่เหมาะสมนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่แก่บุคคลในวัยเดียวกันได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการด้านต่างๆ ในวัยรุ่นให้แก่เยาวชนที่ร่วมกิจกรรม
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ร่วมกิจกรรมได้รฦู็จักวิธีดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล และการดูแลสุขภาพด้านร่างกายที่เหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
0.00

 

3 เพื่อให้ความรู้การใช้ทักษะชีวิตทางสังคมให้แก่กลุ่มวัยรุ่นในแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ถูกต้อง เหมาะสมในเรื่องเพศศึกษา สิ่งเสพติด การใช้อินเตอร์เน็ต สื่อออนไลน์ต่างๆ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการด้านต่างๆ ในวัยรุ่นให้แก่เยาวชนที่ร่วมกิจกรรม (2) เพื่อให้ผู้ร่วมกิจกรรมได้รฦู็จักวิธีดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล และการดูแลสุขภาพด้านร่างกายที่เหมาะสมตามวัย (3) เพื่อให้ความรู้การใช้ทักษะชีวิตทางสังคมให้แก่กลุ่มวัยรุ่นในแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมบรรยายให้ความรู้ (2) กิจกรรมละลายพฤติกรรม (3) กิจกรรมกลุ่ม ระดมความคิด นำเสนอ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ เรียนรู้ดูแลสุขภาพตนเอง (self care) จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3016-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สภาเด็กและเยาวชน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด