กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรักษ์สุขภาพกับคลีนิกใกล้บ้าน
รหัสโครงการ 63-L3355-2-7
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่ามิหรำ
วันที่อนุมัติ 6 ธันวาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 53,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่ามิหรำ
พี่เลี้ยงโครงการ รพ.สต.บ้านน้ำเลือด
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.589,100.05place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 6 ธ.ค. 2562 30 ก.ย. 2563 53,600.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 53,600.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 210 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้ป่วยโรคความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ข้อมูลจาก รพ.สต.บ้านน้าเลือด เมื่อ 1 ตุลาคม 2562

140.00
2 จำนวนผุ้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเสื่อม ระยะ 3

ข้อมูลจาก รพ.สต.บ้านน้าเลือด เมื่อ 1 ตุลาคม 2562

40.00
3 ผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ข้อมูลจาก รพ.สต.บ้านน้าเลือด เมื่อ 1 ตุลาคม 2562

30.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ได้ดำเนินการโครงการคลีนิกใกล้บ้าน ใกล้ใจ มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติร้อยละ ๓๗ ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได่้คิดเป็นร้อยละ ๕๗ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีภาวะไตเสื่อมระยะ ๓ มีการทำงานของไตดีขึ้นเพียง ร้อยละ ๕๓ ผู้ป่วย ๓ กลุ่มนี้ พบว่ายังขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองแบบเข้มข้น เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นจากการเป็นโรคดังกล่าว ชมรม อสม.ต.ท่ามิหรำ รพ.สต.บ้านน้ำเลือด และกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่ามิหรำ จึงได้จัดทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใน ๓ กลุ่มนี้ หลังเสร็จสิ้นโครงการ พบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตให้เป็นปกติได้ร้อยละ ๗๒.๒๘ ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ ๖๔ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีภาวะไตเสื่อมระยะ ๓ มีการทำงานของไตดีขึ้นร้อยละ ๖๒.๘๕ ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ชมรม อสม.ต.ท่ามิหรำและ รพ.สต.บ้านน้ำเลือด และกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่ามิหรำ เห็นว่าโครงการดังกล่าวมีผลลัพธ์ที่ดี คลีนิครับยาโรคเรื้อรังของ รพ.สต.บ้านน้ำเลือดจึงควรจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองแบบเข้มข้นสำหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีภาวะไตเสื่อมระยะที่ ๓ ทุกคน เพื่อให้ผู้ป่วยตระหนักในการดูแลตนเองได้ถูกต้อง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตให้ปกติ และไม่เกิดโรคแทรกซ้อน

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตให้ปกติ ร้อยละ ๗๐ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เกิดภาวะแทรกซ้อน ไม่เกินร้อยละ ๑๐

140.00 98.00
2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติ และไม่เกิดโรคแทรกซ้อน

ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน สามาถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติ ร้อยละ ๔๕ ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน เกิดภาวะแทรกซ้อน ไม่เกินร้อยละ ๑๐

30.00 14.00
3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเสื่อมระยะที่ ๓ มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ค่าการทำงานของไตดีขึ้น

ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม เมื่อติดตามซ้ำการทำงานของไตดีขึ้น ร้อยละ ๖๐

40.00 24.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 ประชาสัมพันธ์โครงการผ่าน อสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในวันที่รับยาโรคเรื้อรัง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 210 0.00 1 0.00
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 กิจกรรมรับยาในคลีนิกโรคเรื้อรัง อสม.ดูแลให้ผู้ป่วยชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต และเจาะเลือดตรวจน้ำตาลในเลือดลงบันทึกในแฟ้มครอบครัวและสมุดประจำตัว 210 0.00 0.00
2 แลกเปลี่ยเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 140 27,600.00 1 27,600.00
1 ม.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 แลกเปลี่ยเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 140 27,600.00 27,600.00
3 แลกเปลี่ยเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยโรคเบาหวาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 7,200.00 1 7,200.00
1 ม.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 แลกเปลี่ยเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยโรคเบาหวาน 30 7,200.00 7,200.00
4 แลกเปลี่ยเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื้อมระยะ 3 กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 18,800.00 1 18,800.00
1 ม.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 แลกเปลี่ยเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื้อมระยะ 3 40 18,800.00 18,800.00
5 ติดตามตรวจสุขภาพซ้ำ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 210 0.00 1 0.00
5 พ.ย. 63 กิจกรรมตรวจซ้ำ ในกลุ่มเป้าหมาย 210 0.00 0.00

1.สำรวจข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ป่วยที่มีภาวะโรคไตระยะที่ 3 2.นัดผู้ป่วยแต่ละกลุ่มมาร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยทีมพยาบาลวิชาชีพเพือให้ผู้ป่วยตระหนัก และสามารถดูแลตนเองได้ 3.ติดตามตรวจซ้ำ 4.เยี่ยมบ้านผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุม เปลี่ยนพฤติกรรมได้

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้มีความดันโลหิตที่ปกติ ค่าน้ำตาลในเลือดปกติ เพื่อการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 2.ผุ้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม สามารถปรับเปลี่บนพฤติกรรม ทำให้การทำงานของไตดีขึ้น 3.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังรับยาต่อเนื่อง ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ธ.ค. 2562 11:42 น.