กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตให้ปกติ และไม่เกิดโรคแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตให้ปกติ ร้อยละ ๗๐ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เกิดภาวะแทรกซ้อน ไม่เกินร้อยละ ๑๐
140.00 98.00 90.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติ และไม่เกิดโรคแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน สามาถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติ ร้อยละ ๔๕ ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน เกิดภาวะแทรกซ้อน ไม่เกินร้อยละ ๑๐
30.00 14.00 30.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเสื่อมระยะที่ ๓ มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ค่าการทำงานของไตดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม เมื่อติดตามซ้ำการทำงานของไตดีขึ้น ร้อยละ ๖๐
40.00 24.00 42.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 210 162
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 210 162
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตให้ปกติ และไม่เกิดโรคแทรกซ้อน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ปกติ และไม่เกิดโรคแทรกซ้อน (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะไตเสื่อมระยะที่ ๓ มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ค่าการทำงานของไตดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการผ่าน อสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในวันที่รับยาโรคเรื้อรัง (2) แลกเปลี่ยเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (3) แลกเปลี่ยเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยโรคเบาหวาน (4) แลกเปลี่ยเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื้อมระยะ 3 (5) ติดตามตรวจสุขภาพซ้ำ (6) กิจกรรมรับยาในคลีนิกโรคเรื้อรัง  อสม.ดูแลให้ผู้ป่วยชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต และเจาะเลือดตรวจน้ำตาลในเลือดลงบันทึกในแฟ้มครอบครัวและสมุดประจำตัว (7) แลกเปลี่ยเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (8) แลกเปลี่ยเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยโรคเบาหวาน (9) แลกเปลี่ยเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื้อมระยะ 3 (10) กิจกรรมตรวจซ้ำ ในกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh