กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ อบรมแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (กสค.) ปี 2560 ”
ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายมะรอสดี เงาะ




ชื่อโครงการ โครงการ อบรมแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (กสค.) ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3013-01-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2559 ถึง 16 ธันวาคม 2559

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อบรมแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (กสค.) ปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อบรมแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (กสค.) ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อบรมแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (กสค.) ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3013-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2559 - 16 ธันวาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,750.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่มีปัจจัยมาจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมทั้งพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพพฤติกรรมการป้องกันโรค พฤติกรรมการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพ ซึ่งพฤติกรรมของประชาชนที่ไม่เหมาะสมดังกล่าวมีทั้งพฤติกรรมเสี่ยงร่วมเช่นการสูบบุหรี่ดื่มสุราความเครียด การขาดการออกกำลังกายการบริโภคที่ไม่เหมาะสมปัญหาการเลี้ยงดูบุตรและการให้ความอบอุ่นในครอบครัว การใช้ยาที่ไม่ถูกต้อง และอนามัยส่วนบุคคล และมีพฤติกรรมเสี่ยงเฉพาะเช่นการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการ การใช้สารเสพติดในกลุ่มเยาวชนการเฝ้าระวังและการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงการไม่นำสุนัขไปรับการฉีดวัคซีนและขาดการป้องกันอุบัติเหตุทางจราจรเป็นต้น จากสภาพปัญหาสาธารณสุขดังกล่าวจำเป็นต้องมีการสร้างเสริมความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายปัญหาดังกล่าวจึงจะคลี่คลายไปในทิศทางที่พึงประสงค์ โดยการให้ประชาชนในครัวเรือนได้มีบทบาทในการดูแลสุขภาพครอบครัวของตนเองมากยิ่งขึ้น ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลบานาจึงมีแนวความคิดที่จะพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของครอบครัวประชาชนในตำบลบานาจึงได้จัดทำ”โครงการอบรมแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (กสค.)”ขึ้น เพื่อหาแกนนำสุขภาพในแต่ละครอบครัว ในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว อันจะส่งผลให้การดำเนินงานสาธารณสุขบรรลุผลดียิ่งขึ้นเป็นการตอบสนองภารกิจพื้นฐานขององค์กร และระบบพัฒนาคุณภาพงานเป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งหวังไว้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้มีแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (กสค.)
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนในครอบครัวได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเอง
  3. 3.เพื่อเพิ่มศักยภาพของประชาชนในแต่ละพื้นที่ในการดูแลสุขภาพของตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มีแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (กสค.) ที่สามารถดูแลสุขภาพของสมาชิกในครอบครัวตนเองได้
    2. แกนนำครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ และสามารถนำหาปัญหาสุขภาพ มาจัดทำเป็นโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชนตนเองได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. แกนนำสรัางสุขค้นหาปัญหาสุขภาพและทำโครงการแก้ไขปัญหา

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กสค.สามารถจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพในเพื่อที่

     

    0 0

    2. อบรมให้ความรู้ตามหลักสูตรที่กำหนด

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการจัดตั้งแกนนำสร้างสุขประจำครอบครัวขึ้น และสามารถค้นหาปัญหาในพื้นที่ตนเองเกิดการทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาของแต่ละพื้นที่

     

    110 110

    3. อบต.บานาแต่งตั้งแกนนำสร้างสุขประจำหมู่บ้าน

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้ารับการอบรมได้รับมอบประกาศนียบัตรแต่งตั้งเป็นแกนนำสร้างสุขประจำหมู่บ้านทุกคน

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กองสาธารณสุขได้จัดแต่งตั้ง กสค.ที่ผ่านการอบรมตามหลักสูร เป็นแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว มีจิตอาสาในการจัดการสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ร่วมในการคิดค้นหาปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ตนเอง และสามารถจัดทำโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลบานา

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้มีแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (กสค.)
    ตัวชี้วัด : มีตัวแทนประชาชนในแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 10 คน เป็นแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว

     

    2 2.เพื่อให้ประชาชนในครอบครัวได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเอง
    ตัวชี้วัด : มีตัวแทนในครอบครัวที่สามารถดูแลสุขภาพบุคคลในครอบครัวและครอบครัวข้างเคียง

     

    3 3.เพื่อเพิ่มศักยภาพของประชาชนในแต่ละพื้นที่ในการดูแลสุขภาพของตนเอง
    ตัวชี้วัด : สามารถเขียนโครงการได้เอง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้มีแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (กสค.) (2) 2.เพื่อให้ประชาชนในครอบครัวได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเอง (3) 3.เพื่อเพิ่มศักยภาพของประชาชนในแต่ละพื้นที่ในการดูแลสุขภาพของตนเอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ อบรมแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว (กสค.) ปี 2560 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3013-01-13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมะรอสดี เงาะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด