กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยปลูกผักเองกินเองโดยใช้เกษตรอินทรี
รหัสโครงการ 63-L3313-3-3
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลจองถนน
วันที่อนุมัติ 13 ธันวาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 5,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายธีระพงษ์ มูสิกนิลพันธ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลจองถนน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.489,100.194place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2562 30 ก.ย. 2563 5,000.00
รวมงบประมาณ 5,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุุบัน การเกิดโรคต่างๆ มีสาเหตุหลักมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือผัก - ผลไม้ที่ไม่ปลอดสารพิษเพราะผู้ผลิตใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช อย่างไม่ถูกวิธีหรือเหตุผลทางการค้าทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้นตกค้างอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่หลีกเลี่ยง แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุ แบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชนและการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลจองถนน ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขลักษณะของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ จึงได้จัดทำโครงการหนูปลูกเองกินเองโดยใช้เกษตรอินทรีย์นี้ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กทุกคนสามารถดูแลสุขภาพของตนเอง ปลูกฝังให้เด็กรู้จักหลีกเลี่ยงการบริโภคผักที่ปนเปื้อนสารเคมี

เด็กทุกคนมีสุขภาพที่ดี

0.00
2 เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงและการฝึกปฏิบัติจริง

เด็กสามารถปลูกผักกินเองได้

0.00
3 การดูแลสุขภาพให้เหมาะสมกับวัย

เด็กทุกคนรับประทานอาหารปลอดสารพิษ

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. เสนอโครงการ
  2. ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง
  3. ดำเนินการกิจกรรมตามโครงการ
  4. สรุปผลโครงการ
  5. รายงานผลโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กทุกคนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้จากการปลูกผักปลอดสารพิษไว้กินเอง 2.ลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรค
  2. การดูแลสุขภาพผลโครงการ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 ธ.ค. 2562 16:17 น.