กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง


“ โครงการ คัดกรองความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ”

ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางดารณี จันทร์อ่อน

ชื่อโครงการ โครงการ คัดกรองความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง

ที่อยู่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L2995-1-012 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ คัดกรองความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ คัดกรองความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ คัดกรองความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L2995-1-012 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคไม่ติดต่อเช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบางโรคเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นและมีแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ๋มาจากสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของประชาชน เช่นการสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์มากเกินไป การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสัดส่วนและไม่เหมาะสมทางโภชนาการ ขาดการออกกำลังกายและมีความเครียดจากครอบครัวและสังคม จากการศึกษาแนวปฏิบัติการบริการป้องกันควบคุมโรคและความดันโลหิตสูงพบว่าปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยงหลัก ได้แก่ภาวะความดันโลหิตสูง การสูบบุหรี่ ปัจจัยเสี่ยงรอง ได้แก่ ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ขาดการเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมาก การบริโภคอาหารที่ไม่สมดุล บริโภคอาหารที่เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งรับประทานผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ รวมทั้งประชาชนมีความรู้ที่ไม่ถูกต้องและไม่ตระหนักถึงความรุนแรงของโรคที่ไม่ติดต่อเหล่านั้น ด้านการให้การบริการเชิงรุกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระ ได้จัดทำโครงการคัดกรองเบาหวานความดันซึ่งผลการดำเนินงานแม้ว่าทำให้ผลงานการค้นหาทำได้ครอบคลุมเพิ่มมากขึ้นและสามารถคัดกรองได้เพิ่มขึ้นปีงบประมาณ 256๒ นี้ พบว่า กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น จากข้อมูลพบกลุ่มเสี่ยงเบาหวานจำนวน 86 รายและเสี่ยงสูง 8 รายที่ต้องเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่องส่วน กลุ่มป่วยเบาหวานรายใหม่ 2 ราย และพบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 198 ราย และเสี่ยงสูง 6 ราย พบป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ 3 รายจากากรคัดกรองทั้งหมด แต่ก็ยังไม่สมารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตได้ครอบคลุมเป้าหมายทั้งหมด เนื่องจากประชาชนบางส่วนยังไม่มีความตระหนัก  ดังนั้น้พื่อเป็นการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นและเพื่อพัฒนาศักยภาพของประชาชนให้เกิดความตระหนักในการสร้างภูมิคุ้มกัน เฝ้าระวัง และดูแลตนเองให้มีพฤติกรรมลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อผลักดันให้ประชาชนที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยมีการเข้าคลินิก DPAC และส่งเสริมให้มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง 3 อ 2 ส. และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม ลดปัจจัยเสี่ยงและอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีสุขภาพดีได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังก็จะได้รับการดูแลตามมาตรฐานเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่อไป  ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานและ ผู้ปวยโรคเรื้อรัง เพื่อไม่ให้เป็นผู้ป่วยรายใหม่ และผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนของโรคเดิม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. ค้นหากลุ่มเสี่ยงด้วยการคัดกรองสุขภาพประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ๒. เพื่อ่ให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและรักษา/ส่งต่อ ๓. ลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ดำเนินการอบรมเชิงปฎิบัติคัดกรองความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง การสาธิตการปลูกผักกินได้โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 21
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.กลุ่มเสี่ยงได้รับข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ๒.กลุ่มป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีและอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ดำเนินการอบรมเชิงปฎิบัติคัดกรองความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง การสาธิตการปลูกผักกินได้โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง

วันที่ 23 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการอบรมเชิงปฎิบัติการคัดกรองความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง สาธิตการปลูกผักกินได้โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำที่ทำการนวดฝ่าเท้าด้วยกะลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.กลุ่มเสี่ยงได้รับข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ๒.กลุ่มป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีและอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนลดลง

 

91 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

วันที่ 23 เดือน กันยายน พ.ศ. 2563 ดำเนินการอบรมเชิงปฎิบัติการโครงการคัดกรองความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง สาธิตการปลูกผักกินได้โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำที่ทำการนวดฝ่าเท้าด้วยกะลา ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัด ปัตตานี มีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 91 คน กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย จำนวน 70 คน อสม. จำนวน ๒๑ คน รวมทั้งหมด ๙๑ คน **ผลที่ได้รับ ๑.กลุ่มเสี่ยงได้รับข้อมูลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ๒.กลุ่มป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีและอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนลดลง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. ค้นหากลุ่มเสี่ยงด้วยการคัดกรองสุขภาพประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ๒. เพื่อ่ให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและรักษา/ส่งต่อ ๓. ลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด :
0.00 100.00

ดำเนินการอบรมเชิงปฎิบัติการโครงการคัดกรองความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง สาธิตการปลูกผักกินได้โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำที่ทำการนวดฝ่าเท้าด้วยกะลา ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัด ปัตตานี มีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 91 คน กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย จำนวน 70 คน อสม. จำนวน ๒๑ คน รวมทั้งหมด ๙๑ คน **ผลที่ได้รับ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 91 91
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 21 21
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. ค้นหากลุ่มเสี่ยงด้วยการคัดกรองสุขภาพประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
๒. เพื่อ่ให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและรักษา/ส่งต่อ
๓. ลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดำเนินการอบรมเชิงปฎิบัติคัดกรองความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง การสาธิตการปลูกผักกินได้โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ คัดกรองความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L2995-1-012

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดารณี จันทร์อ่อน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด