กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และฟื้นฟู ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น
รหัสโครงการ 60-L2497-1-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ
วันที่อนุมัติ 21 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2560 - 31 พฤษภาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 31,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสือน๊ะแมะเต๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ นายนัศรุดดีน เจะแน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.457,101.663place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานความปลอดภัยทางถนน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (31,100.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การดูแลรักษาผู้ป่วยบาดเจ็บและเจ็บป่วยฉุกเฉินก่อนการนำส่งไปยังสถานพยาบาลเป็นระยะหนึ่ีงที่สำคัญ เพราะช่วงก่อนนำส่งโรงพยาบาล เป็น Golden hour ขอการรักาาผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุต่างๆ ที่จะทำให้ผู้ป่วยรอดชีวิตได้มากที่สุด มากกว่าการได้รับการรักษาที่โรงพยาบาล ซึ่งระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ได้แก่การพัฒนาระบบการรับแจ้งเหตุ และการแจ้งเหตุที่มีประสิทธิภาพ การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประชาชน ทั้งนี้ประชนในอำเภอยี่งอมีการใช้่บริการการแพทย์ฉุกเฉินยังน้อยอยู่ การพัฒนาชุดปฏิบัติการได้มาตรฐานครอบคลุมทุกพื้นที่ ซึ่งจะต้องผ่านการอบรมชุดปฏิบัติการและมีความรู้ความสามารถในเรื่องระบบการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้น ประเมินสภาพผู้ป่วยฉุกเฉินและสถานการณ์และการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ อีกทั้งในปัจจุบัตสภาพเหตุการณฺ์ความไม่สงบในพื้นที่ ตลอดจนโรคภัยไข้เจ็บอย่างเฉียบพลัน ในพีที่ผ่านมาการให้บริการของเครือข่ายให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน โรงพยาลบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ การเข้าถึงการแพทย์ฉุกเฉินของประชาชน การใช้หมายเลข 1699 ของประชาชนในพื้นที่ ปี 2559 จำนวน 369 ราย แต่ทั้งนี้ อาสากู้ชีพฉุกเฉินมีจำนวนไม่พอในการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน ดังนั้นงานอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน รพ.ยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้ครอบคลุมทั้งการประชาสัมพันธ์ การอบรมให้ความรุ้แก่ผู้ให้บริการและประชาชน จึงได้จัดโครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินเพื่อลดอัตราการสูญเสียชีวิทต ความพิการและสูญเสียทรัพย์สิน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้อาสากู้ชีพฉุกเฉิน ได้รับความรู้และทักษะในการปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน

 

2 เพื่อพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินในอำเภอยี่งอ

 

3 เพื่อการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประชาชน

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้อาสากู้ชีพฉุกเฉิน ได้รับความรู้และทักษะในการปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินในอำเภอยี่งอ

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประชาชน

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

1.ประชุมคณะกรรมการบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 2.จัดทำรายละเอียดโครงการและเสนอขออนุมัติ 3.ประสานหน่วยงานและบุคคล 4.ดำเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัตการ 5.ประเมินโครงการ 6.ประเมินการฝึกปฏิบัตงานของผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินที่ผ่านการอบรม

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมการอบรมสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติและช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 2.ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินตามมาตรฐาน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 พ.ค. 2560 11:58 น.